VS - Air Conditioning The AC System Thermal comfort loop val

VS - Air Conditioning The AC System Thermal comfort loop val

การปรับอากาศ ระบบ ปรับอากาศ วงจรปรับอุณหภูมิเพื่อความสบาย

valeoscope

คู่มือด้านเทคนิค

วาลีโอ ผู้เชี่ยวชาญทุกเรื่อง การปรับอากาศ ด้วยการเป็นหนึ่งในผู้น�ำระดับโลกและผู้เชี่ยวชาญทุก เรื่องปรับอากาศ รวมทั้ง ระบบกรองอากาศห้อง โดยสารรถยนต์ วาลีโอจึงขอเสนอทางเลือกของ ระบบปรับอากาศดังนี้ g ทุกแง่มุมและทุกส่วนประกอบของการออกแบบ วงจรปรับอากาศ g ผลิตภัณฑ์อะไหล่ทดแทนครบครัน มีมากกว่า 2,500 ชิ้นส่วน g กลุ่มผลิตภัณฑ์คุณภาพในการปรับอากาศที่มี คุณสมบัติเฉพาะ ซึ่งประกอบด้วย กลุ่มผลิตภัณฑ์ แผ่นกรองอากาศห้องโดยสารของรถยนต์และ รถบรรทุก (รวมถึงเทคโนโลยีโพลีเฟนอลล่าสุด) และกลุ่มผลิตภัณฑ์ฟอกอากาศ ClimPur TM และ ClimSpray TM g เครื่องมือช่าง อุปกรณ์เสริม และวัสดุสิ้นเปลือง ต่างๆ ครบครัน g กลุ่มผลิตภัณฑ์การให้บริการครบถ้วน ได้แก่ การฝึกอบรม การสนับสนุนด้านเทคนิค อุปกรณ์ช่วย ขายต่างๆ (POSM) การขนส่ง <<รวดเร็ว บริการ และคุณภาพ>>

สารบัญ

10.8 การท�ำความเย็นและลดความชื้นในอากาศ 10.9 การผสมกันระหว่างความร้อนและความเย็น 10.9.1 เมื่อท�ำการผสมอากาศ 10.9.2 เมื่อปรับอัตราการไหลของน�้ำร้อน 10.10 การกระจายอากาศ

หน้า 29 หน้า 30 หน้า 30 หน้า 30 หน้า 31

1. ข้อจำ�กัดในความรับผิดชอบ 2. วาลีโอ ผู้เชี่ยวชาญทุกเรืองการปรับ อากาศ 3. คอมเพรสเซอร์วาลีโอ 4. valeo-techassist.com 5. กฎระเบียบว่าด้วยการดำ�เนินธุรกิจปรับ อากาศ 5.1 พันธกรณีเกียวโต 5.2 ข้อตกลงเบื้องต้นของพิธีสารเกียวโต 5.2.1 การตรวจสอบย้อนกลับของปริมาณน�้ำยาแอร์ 5.2.2 ความพร้อมของศูนย์บริการและบุคลากร 5.2.3 ขั้นตอนการบ�ำรุงรักษา 5.2.4 การพัฒนาระบบปรับอากาศ 6. ระบบปรับอากาศสร้างความสบาย ในห้องโดยสารรถยนต์ตลอดทั้งปี 7. ความสบายที่เกิดจากอุณหภูมิ 8. ความสบายและความปลอดภัยจาก ระบบปรับอากาศ 9. ระบบปรับอากาศเบื้องต้น 10. ชุดระบบทำ�ความร้อน การกระจาย อากาศ และระบบทำ�ความเย็น (HVAC) 10.1 การไหลเวียนของอากาศ 10.2 การดักจับอากาศจากภายนอก 10.3 การกรองอากาศจากห้องโดยสารรถยนต์ 10.4 การไหลเวียนซ�้ำของอากาศ 10.5 การขับอากาศให้เคลื่อนที่ 10.6 การกรองอนุภาคที่ลอยตัวอยู่ในอากาศ 10.6.1 เทคโนโลยีแผงกรองอากาศภายในห้องโดยสาร รถยนต์ 10.6.2 การท�ำงานของแผงกรองอากาศห้องโดยสาร รถยนต์ 10.6.3 ขั้นตอนในการติดตั้งแผงกรองอากาศห้อง โดยสารรถยนต์ 7.1 กลไกการปรับความร้อนในร่างกายมนุษย์ 7.2 ความสบายทางสรีรศาสตร์ 9.1 หน้าที่ของระบบปรับอากาศ 9.2 ภาพรวมของระบบปรับอากาศ

หน้า 3 หน้า 4 หน้า 6 หน้า 7 หน้า 8

11. วงจรปรับอากาศ 11.1 นํ้ายาแอร์

หน้า 39 หน้า 40 หน้า 42 หน้า 42 หน้า 43 หน้า 43 หน้า 44 หน้า 44 หน้า 46 หน้า 46 หน้า 46 หน้า 46 หน้า 47 หน้า 49 หน้า 52 หน้า 53 หน้า 53 หน้า 54 หน้า 56 หน้า 57 หน้า 57 หน้า 58 หน้า 58 หน้า 59 หน้า 60 หน้า 60 หน้า 61 หน้า 39 หน้า 62 หน้า 33 หน้า 33 หน้า 34 หน้า 35 หน้า 36 หน้า 37 หน้า 32

13.1 ผลที่เกิดขึ้นจากความชื้น 13.2 ผลที่เกิดขึ้นจากการไหลของอากาศที่ไม่ดีพอ 13.3 ผลที่เกิดขึ้นหากนํ้ายาแอร์ไม่เพียงพอ 13.4 ข้อควรปฏิบัติจากผู้เชี่ยวชาญ 12.5.1 ค�ำอธิบายการท�ำงานอย่างง่าย 12.5.2 ค�ำอธิบายการท�ำงานโดยละเอียด 12.6 อีวาพอเรเตอร์ 12.7 ท่อต่างๆ 12.8 ตัวเลือกในวงจรปรับอากาศ 12.8.1 วงจรที่ใช้ท่อออริฟิสและแอคคิวมูเลเตอร์ 12.8.1.1 ท่อออริฟิส 12.8.1.2 แอคคิวมูเลเตอร์ 12.8.1.3 ตัวเลือกของวงจรปรับอากาศในแคตตาล็อค ระบบปรับอากาศวาลีโอ 12.9 อุปกรณ์นิรภัย 12.9.1 สวิตช์ความดัน (เพรสโซสแตท) 12.9.2 เซนเซอร์อีวาพอเรเตอร์ 13. ทำ�ไมต้องหมั่นบำ�รุงรักษาอยู่เสมอ 11.1.1 ประเภทของน�้ำยาแอร์ 11.1.2 ความเป็นมาและวันที่มีผลบังคับใช้ 11.2 วงจรแบบง่าย 11.2.1 อุณหภูมิจุดเดือดกับความดัน 11.2.2 วงจรสมบูรณ์ 12. ส่วนประกอบของวงจรปรับอากาศ 12.1 คอมเพรสเซอร์ 12.1.1 คอมเพรสเซอร์แบบลูกสูบ 12.1.2 คอมเพรสเซอร์แบบใบพัด 12.1.3 ท่อทางของคอมเพรสเซอร์ 12.1.4 ระดับความแรงในการดูด 12.1.5 ข้อจ�ำกัดของความดันจากการดูด 12.1.6 อีวาพอเรเตอร์กลายเป็นแข็ง... ตัวท�ำลาย คอมเพรสเซอร์ !!! 12.1.7 การป้องกันไม่ให้อีวาพอเรเตอร์กลายเป็นน�้ำแข็ง 12.2 การหล่อลื่นวงจรปรับอากาศ 12.2.1 น�้ำมันหล่อลื่นและเทคโนโลยีของคอมเพรสเซอร์ 12.2.2 น�้ำมันหล่อลื่นและประเภทของน�้ำยาแอร์ 12.2.3 น�้ำมันหล่อลื่นที่มีในแคตตาล็อค 12.3 คอนเดนเซอร์ 12.4 กรองนํ้ายาแอร์ 12.5 เอ๊กแพนชั่นวาล์ว

หน้า 9 หน้า 9 หน้า 9 หน้า 9 หน้า 9 หน้า 9

หน้า 10 หน้า 11 หน้า 15 หน้า 16 หน้า 16 หน้า 16 หน้า 18 หน้า 11 หน้า 13

หน้า 20 หน้า 20 หน้า 20 หน้า 21 หน้า 22 หน้า 24 หน้า 25 หน้า 26 หน้า 27 หน้า 28 หน้า 28 หน้า 28

หน้า 62 หน้า 63 หน้า 63 หน้า 64

10.7 การท�ำความร้อน 10.7.1 แผงฮีตเตอร์ 10.7.2 PTC

1

ค�ำน�ำ

ในฐานะที่เป็นหนึ่งในผู้ผลิตและผู้ออกแบบระบบยานยนต์ ชั้นน�ำ เราจึงส่งมอบ 14 สายผลิตภัณฑ์ให้แก่รถยนต์ โดยสาร และอีก 8 กลุ่มผลิตภัณฑ์ส�ำหรับยานยนต์ บรรทุก จึงถือเป็นเรื่องปกติที่จะมีการให้บริการทุก ช่องทางในการจัดจ�ำหน่ายสินค้าตั้งแต่เครือข่ายผู้ผลิต รถยนต์จนถึงผู้ค้าอิสระในตลาดอะไหล่ทดแทนและการ กระจายสินค้าอันทันสมัยกว่า 120 ประเทศทั่วโลก การจัดจำ�หน่ายระบบปรับอากาศ ในอดีตระบบปรับอากาศถือเป็นสิ่งที่บ่งบอกถึงความ หรูหราทันสมัย แต่ในปัจจุบันการติดตั้งระบบปรับอากาศ พบได้ทั่วไป 90% ของรถยนต์ใหม่ในยุโรปจะติดตั้งระบบ ปรับอากาศแล้ว ดังนั้นความต้องการการซ่อมแซมและ บ�ำรุงรักษาระบบปรับอากาศจึงเพิ่มขึ้นเป็นเงาตามตัว และเป็นโอกาสอันดี ที่ศูนย์บริการจะสามารถเพิ่มรายได้ ให้กับตนเองได้ ความชำ�นาญจากผู้เชี่ยวชาญฝังอยู่ในยีนส์ ของเรา

Valeo – ครองต�ำแหน่งทั้งผู้น�ำอะไหล่แท้ ติดรถ จนถึงผู้เชี่ยวชาญตลาดอะไหล่ ทดแทน คาดหวังที่จะได้รับค�ำแนะน�ำว่า ตนเองควรซื้ออะไร ในปัจจุบัน คู่มือจึงเป็นข้อก�ำหนดอันดับต้นๆ ที่ต้องมีให้ ลูกค้าก่อนเสมอ และต้องสร้างความแตกต่างให้เห็นอย่าง ชัดเจนระหว่างศูนย์บริการมาตรฐานที่ได้รับการยอมรับ และศูนย์บริการทั่วไป คู่มือเล่มนี้ช่วยให้รู้จักระบบปรับ อากาศมากยิ่งขึ้น ซึ่งได้อธิบายถึงพิธีสารเกียวโตและกฎ ความร้อนที่สร้างความสบาย (Thermal Comfort rules) ภาพรวมของระบบ และปฏิกิริยาระหว่างส่วนประกอบ ต่างๆ ทั้งนี้รายละเอียดเชิงลึกของระบบปรับอากาศจะ น�ำเสนอในวิดีโอและข่าวสารด้านเทคนิคต่อไป ด้วยการเติบโตอย่างต่อเนื่องและมีนัยส�ำคัญ Valeo Service จึงภูมิใจน�ำเสนอคู่มือด้านเทคนิคของระบบปรับ อากาศ 2013 ซึ่งเป็นก้าวแรกสู่เทคนิคและขั้นตอนต่างๆ ที่ได้รับการปรับปรุงให้เหมาะสม มีความสมบูรณ์ของ เนื้อหามากยิ่งขึ้นลูกค้าที่เพิ่มจ�ำนวนมากขึ้นเรื่อยๆ ต่างก็

2

1

ข้อจ�ำกัด ในความรับผิดชอบ ฉ้อโกงหรือหลอกลวงบิดเบือนความจริงของบริษัท (ค) จ�ำกัดต่อความรับผิดใด ๆ ของบริษัทหรือของผู้ใช้ ตามที่ไม่ได้รับอนุญาตตามกฎหมายที่ใช้บังคับ หรือ (ง) ยกเว้นความรับผิดใด ๆ ของบริษัทหรือของผู้ใช้ที่อาจ ไม่ได้รับการยกเว้นตามกฎหมายที่ใช้บังคับ ข้อจ�ำกัด และข้อยกเว้นในความรับผิดที่ก�ำหนดไว้ใน ส่วนนี้และส่วนอื่น ๆ ในข้อจ�ำกัดในความรับผิดนี้ (ก) จะอยู่ภายใต้บังคับของความในวรรคข้างต้นและ (ข) ควบคุมความรับผิดทั้งหมดอันเกิดขึ้นภายใต้ข้อจ�ำกัดใน ความรับผิดชอบนี้หรือตามเหตุของข้อจ�ำกัดในความรับ ผิดนี้รวมถึงความรับผิดอันเกิดจากสัญญาในการละเมิด (รวมทั้งความประมาท) และการละเมิดต่อการปฏิบัติ หน้าที่ตามกฎหมาย ตราบใดที่มีการจัดหาคู่มือและเอกสารการฝึกอบรมนี้ให้ โดยไม่มีค่าใช้จ่าย บริษัทจะไม่รับผิดชอบต่อความ สูญเสียหรือความเสียหายใดๆที่เกิดขึ้นทั้งสิ้น

เนื่องด้วยบริษัทได้พยายามตรวจสอบข้อมูลที่รวบรวม อยู่ในเอกสารการฝึกอบรมนี้ให้มีความถูกต้อง จึงไม่ รับประกันความถูกต้องหรือความครบถ้วนสมบูรณ์ และ ไม่ได้ตรวจสอบว่าข้อมูลในคู่มือเล่มนี้เป็นปัจจุบันหรือไม่ ตามอ�ำนาจสูงสุดตามกฎหมายที่ใช้บังคับอนุญาต จะไม่ รวมถึงการน�ำเสนอ การรับประกัน และเงื่อนไขที่ เกี่ยวข้อง และการใช้คู่มือเล่มนี้ (รวมถึงแต่ไม่จ�ำกัดเพียง การรับประกันโดยนัยใด ๆ ตามกฎหมายในส่วนที่ เกี่ยวกับคุณภาพที่น่าพอใจ ความเหมาะสมต่อ วัตถุประสงค์ และ/หรือการใช้งานด้วยทักษะและการ ดูแลที่เหมาะสม) การใดๆ ในข้อจ�ำกัดในความรับผิดชอบนี้จะ : (ก) จ�ำกัด หรือยกเว้นความรับผิดของบริษัทหรือของผู้ใช้ต่อการ เสียชีวิตหรือบาดเจ็บอันเกิดจากความประมาทเลินเล่อ; (ข) จ�ำกัด หรือยกเว้นความรับผิดหรือของผู้ใช้ต่อการ

3

2

วาลีโอ ผู้เชี่ยวชาญทุกเรื่อง การปรับอากาศ

วาลีโอเป็นกลุ่มบริษัทอุตสาหกรรมที่เน้นการออกแบบ ผลิต จัดจ�ำหน่ายชิ้นส่วน ระบบเบ็ดเสร็จ และมอดูล ต่างๆ ในอุตสาหกรรมยานยนต์ โดยมีเป้าหมายเพื่อลด การปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ วาลีโอเป็นหนึ่งในผู้จัด จ�ำหน่ายอุปกรณ์ยานยนต์ชั้นน�ำของโลก โดยมีสาขา กว่า 29 ประเทศ ทั่วโลก ซึ่งประกอบด้วยโรงงาน 125 แห่ง ศูนย์วิจัย 21 แห่ง ศูนย์พัฒนา 40 แห่ง ช่องทางการ กระจายสินค้า 12 แห่ง และพนักงาน 72,600 คน วาลีโอ ประกอบด้วย 4 กลุ่มธุรกิจ ได้แก่ ระบบส่งก�ำลัง ระบบอุณหภูมิ ระบบช่วยเหลือในการขับขี่และสร้าง ความสบายในห้องโดยสาร และระบบทัศนวิสัย กลุ่มผลิตภัณฑ์ควบคุมอากาศถือเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม ธุรกิจระบบปรับอุณหภูมิของวาลีโอ ยอดขาย 11.8 พันล้านยูโร (ณ เดือนธันวาคม 2555)

พนักงาน 72,600 คน โรงงานผลิต 125 แห่ง ศูนย์วิจัย 21 แห่ง ศูนย์พัฒนา 40 แห่ง

4

พร้อมให้บริการทั่วโลก

คลังสินค้าของ Valeo Service

ยุโรป

อเมริกาเหนือ

แอฟริกา

เอเชีย

อเมริกาใต้

โรงงานผลิต 14 แห่ง ศูนย์พัฒนา 5 แห่ง ศูนย์วิจัย 1 แห่ง ศูนย์กระจายสินค้า 1 แห่ง พนักงาน 9,207 คน

โรงงานผลิต 8 แห่ง ศูนย์พัฒนา 4 แห่ง ศูนย์กระจายสินค้า 2 แห่ง พนักงาน 4,148 คน

โรงงานผลิต 58 แห่ง ศูนย์พัฒนา 18 แห่ง ศูนย์วิจัย 16 แห่ง ศูนย์กระจายสินค้า 8 แห่ง พนักงาน 37,459 คน

โรงงานผลิต 4 แห่ง ศูนย์พัฒนา 1 แห่ง พนักงาน 2,001 คน

โรงงานผลิต 44 แห่ง ศูนย์พัฒนา 12 แห่ง ศูนย์วิจัย 4 แห่ง ศูนย์กระจายสินค้า 1 แห่ง พนักงาน 20,955 คน

5

คอมเพรสเซอร์วาลีโอ คอมเพรสเซอร์เป็นองค์ประกอบขับเคลื่อนวงจรท�ำความ เย็น เป็นอุปกรณ์ที่ท�ำให้เกิดการหมุนเวียนของน�้ำยาแอร์ ในระบบปรับอากาศ

3

กลุ่มผลิตภัณฑ์คอมเพรสเซอร์วาลีโอ ปี 2556 > เพิ่มขึ้น 5% ของปริมาณรถยนต์ในตลาด มี หมายเลขชิ้นส่วนใหม่ 54 หมายเลข เท่ากับ 77% ของปริมาณรถยนต์ในยุโรป > วาลีโอเป็นผู้จัดจ�ำหน่ายอะไหล่แท้ติดรถยนต์ จ�ำนวนมาก เช่น new Renault Clio IV, Volkswagen Golf V & VI, Dacia Logan, Sandero, Duster & Lodgy (2012) รวมถึง Mercedes-Benz & Volvo > กลุ่มรถยนต์ใหม่ๆ เช่น ในยุโรป 32 รุ่น และใน เอเชีย 22 รุ่น รวมถึง Hyundai i30 1.4/1.6 (2006), Kia Picanto 1.1/1.0/1.1 CRDi (2004), Kia Sorento 2.5 CRDi (2002)… เป็นต้น

กระบวนการผลิตขึ้นใหม่ที่มีคุณภาพสูงสุด กระบวน O.E. : ทวนสอบได้ 100%

รวบรวมชิ้นส่วนหลักหรือรับมา จากลูกค้า : คัดแยกตามหมายเลขชิ้น ส่วนทางเทคนิค

ทดสอบสุดท้าย เมือผลิตเสร็จ 100% : ทดสอบการรั่ว ทดสอบการทำ�งาน เติมไนโตรเจนเพือกำ�หนด เป็นสินค้าคงคลัง

1

ถอดแยกชิ้นส่วน : ชุดปั๊ม / ชุดคลัตช์

7

2

6

3

ล้างท�ำความสะอาด / ล้างด้วยน�้ำแรงดันสูง / ไตรโบฟินิชั่น (tribofinition)

เปลี่ยนตามกฎระเบียบ ว่าด้วยวัตถุต้องห้าม (แคดเมียม โครเมียม 6)

4

5

เปลี่ยนชิ้นส่วนที่ช�ำรุดสึกหรอ : ติดตั้งชิ้นส่วน/ส่วนประกอบใหม่เข้า ไปเพื่อให้ใช้งานได้ยาวนานยิ่งขึ้น

ผลิตขึ้นใหม่และควบคุมส่วนประกอบย่อย ควบคุมการท�ำงาน และระบบไฟฟ้า ด้วยการตรวจสอบด้วยสายตา 45 ครั้ง

4

valeo-techassist.com

สามารถใช้งาน Valeo TechAssist ทั้งหมดเพื่อรับทราบ ขั้นตอนการให้บริการจากศูนย์บริการได้: g รับข้อมูลผลิตภัณฑ์: เอกสารข้อมูลผลิตภัณฑ์ซึ่งมี รายละเอียดเพิ่มเติมที่ไม่มีอยู่ในแคตตาล็อก g ค้นหาปัญหาที่เกิดขึ้นทั่วไป: แสดงการวินิจฉัยปัญหา ทีละขั้นตอนเพื่อให้ค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับความผิดปกติ หรือปัญหาที่อาจเกิดขึ้น g อัพเดตผลิตภัณฑ์การให้บริการของวาลีโอ: ได้รับ ข่าวสารด้านการให้บริการด้านเทคนิคทั้งหมดอย่างเต็ม รูปแบบ g ค้นหาความช่วยเหลือเมื่อจ�ำเป็น: ค�ำตอบส�ำหรับ ค�ำถามที่ถามบ่อย และติดต่อสายด่วนการให้บริการ ทางเทคนิคของวาลีโอ g ใช้เครื่องมือของศูนย์บริการวาลีโออย่างมีประสิทธิภาพ: เรียกดูคู่มือผู้ใช้คู่มือการให้บริการ และการปรับปรุง ซอฟต์แวร์จากเครื่องมือการให้บริการของวาลีโอ g เรียนรู้เทคโนโลยีใหม่ๆ: รูปแบบการฝึกอบรมออนไลน์ (e-learning) และเอกสารเนื้อหาเกี่ยวกับเทคโนโลยี ของผลิตภัณฑ์อันทันสมัย ที่สามารถศึกษาได้ด้วยตนเอง นอกจากนี้สามารถค้นคว้าคุณสมบัติขั้นสูงอื่นๆ ได้ g เพิ่มเติมข้อคิดเห็นลงในเอกสารต่างๆ: แสดงข้อติชม แนะน�ำต่อการให้บริการของวาลีโอ เพื่อช่วยให้เกิดการ ปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง g กรอกข้อมูลการประเมินผล: แสดงข้อคิดเห็นและความ พึงพอใจของตนเอง g แสดงความคิดเห็น: แลกเปลี่ยนประสบการณ์กับ ผู้ใช้รายอื่น

เป็นโปรแกรมบนเว็บที่พัฒนาขึ้นมาเฉพาะส�ำหรับ ศูนย์บริการซ่อมบ�ำรุง ผู้จัดจ�ำหน่ายชิ้นส่วนอะไหล่ ยานยนต์ และผู้ฝึกอบรมด้านเทคนิค เข้าใช้งาน Valeo TechAssist ได้ตลอดเวลา มีทั้งหมด 10 ภาษา เพียงแค่เชื่อมต่อไปยังเว็บไซต์ www.valeo-techassist.com. Valeo TechAssist ไม่ได้เป็นเพียงฐานข้อมูลทางเทคนิค เท่านั้นแต่ยังเป็นเวทีในการเรียนรู้และแลกเปลี่ยนข้อมูล ต่างๆเกี่ยวกับรถยนต์นั่งส่วนบุคคลและกลุ่มผลิตภัณฑ์ทุก ชนิดของวาลีโอ ข้อมูลใน Valeo Techassist ประกอบด้วยข้อมูลส�ำคัญ 4 ด้าน ดังนี้

1.ข้อมูลผลิตภัณฑ์ 2.ความช่วยเหลือด้านเทคนิค 3.เครื่องมือส�ำหรับศูนย์บริการซ่อมบ�ำรุง 4.การฝึกอบรมด้านเทคนิค

7

5

กฎระเบียบว่าด้วยการ ด�ำเนินธุรกิจปรับ อากาศ

วันที่ให้สัตยาบันในพิธีสารเกียวโต

เนเธอรแลนด 31 พฤษภาคม 2545 เยอรมนี 31 พฤษภาคม 2545 โปแลนด 13 ธันวาคม 2545 สาธารณรัฐเช็ก 15 พฤศจิกายน 2544

สหพันธรัฐรัสเซีย 18 พฤศจิกายน 2547

สหราชอาณาจักร บริเตนใหญ‹และ ไอรแลนดเหนือ 31 พฤษภาคม 2545

สเปน 31 พฤษภาคม 2545 อิตาลี 31 พฤษภาคม 2545 กรีซ 31 พฤษภาคม 2545 ตุรกี 28 พฤษภาคม 2552 ฝรั่งเศส 31 พฤษภาคม 2545

บราซิล 23 สิงหาคม 2545

8

5.2 ข้อตกลงเบื้องต้นของพิธีสารเกียวโต แต่ละประเทศอาจน�ำพิธีสารเกียวโตไปบังคับใช้แตกต่างกัน แต่มีเป้าหมายเดียวกัน 5.2.1 การตรวจสอบย้อนกลับของปริมาณนํ้ายาแอร์ g ต้องตรวจสอบปริมาณการจัดจ�ำหน่ายน�้ำยาแอร์ g ต้องตรวจสอบปริมาณการใช้น�้ำยาแอร์ 5.2.2 ความพร้อมของศูนย์บริการและบุคลากร ศูนย์บริการจะต้องมีความพร้อมในการควบคุมจัดการน�้ำยาแอร์ g ศูนย์บริการจะต้องมีเครื่องมืออุปกรณ์ที่ถูกต้องเหมาะสม g บุคลากรต้องมีทักษะความช�ำนาญในการให้บริการ ด้านการปรับอากาศ 5.2.3 ขั้นตอนการบ�ำรุงรักษา g การเติมน�้ำยาแอร์ในวงจรปรับอากาศจะต้องด�ำเนินการเมื่อไม่มีการ รั่วไหลของวงจรเกิดขึ้น g เติมน�้ำยาแอร์ในวงจรที่ยังไม่มีน�้ำยาแอร์ได้ภายหลังจากที่ได้ ทดสอบและวินิจฉัยการรั่วไหลของน�้ำยาแอร์เสร็จสิ้นแล้วเท่านั้น g ห้ามปล่อยน�้ำยาแอร์ออกสู่บรรยากาศโดยเด็ดขาด 5.2.4 การพัฒนาระบบปรับอากาศ สืบเนื่องจากพิธีสารเกียวโต ผู้จัดจ�ำหน่ายระบบปรับอากาศจึงมีผล ผูกพันต่อการลดผลกระทบอันเกิดจากน�ำ้ยาแอร์ที่ท�ำให้เกิดภาวะโลก ร้อนและการสูญเสียชั้นบรรยากาศหรือโอโซน โดยได้ก�ำหนดตัวชี้วัด เพื่อประเมินผลกระทบของน�้ำยาแอร์ต่อชั้น บรรยากาศหรือโอโซน และภาวะโลกร้อน ดังนี้ g ODP (Ozone Depleting Potential) คือ ค่าแสดงระดับการ ท�ำลายโอโซน g GWP (Global Warming Potential) คือ ค่าแสดงระดับความ สามารถในการท�ำให้เกิดภาวะโลกร้อน

5.1 พันธกรณีเกียวโต น�้ำยาแอร์สร้างผลกระทบต่อโลกของเราเนื่องจากเพิ่ม ภาวะเรือนกระจกให้มากยิ่งขึ้น หลายประเทศได้ลงนามในพิธีสารเกียวโต และแสดง ความมุ่งมั่นที่จะลดผลกระทบอันเกิดจากระบบปรับอากาศ โดยก�ำหนดหลักเกณฑ์ในการให้บริการด้านปรับอากาศให้ รัดกุมมากยิ่งขึ้น และก�ำหนดให้มีตรวจสอบการด�ำเนิน ธุรกิจด้านนํ้ายาแอร์ในอุตสาหกรรมยานยนต์ เป้าหมายคือลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดยรวม ให้ลดลงในสัดส่วนอย่างน้อย 5% ซึ่งตํ่ากว่าระดับในปี 2533 ให้ได้ ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2551-2555 การให้สัตยาบันในพิธีสารเกียวโต พิธีสารเกียวโตเป็นพันธกรณีระหว่างประเทศ ซึ่งจัดตั้ง ขึ้นภายใต้อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Conven- tion on Climate Change, http://unfccc.int/2860.php) พิธีสารเกียวโต ประกาศที่เมืองเกียวโต ประเทศญี่ปุ่น เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2540 พิธีสารเกียวโตมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 วันที่น�ำไปปฏิบัติและบังคับใช้ในแต่ละประเทศจะแตกต่าง กัน โดยแต่ทุกประเทศจะต้องน�ำกฎระเบียบข้อบังคับ พื้นฐานไปปรับใช้ให้เกิดผลส�ำเร็จ g การประเมินผลในระยะที่หนึ่ง คือ สิ้นปี พ.ศ. 2555 g เป้าหมายต่อไป คือ ลดก๊าซเรือนกระจกลงอีก 20% ในปี พ.ศ. 2563 ซึ่งเป็นอัตราที่เปรียบเทียบกับอัตรา ในปี พ.ศ. 2533 (ข้อก�ำหนดของยุโรป หมายเลข 406/2009/CE) และลดลงอีก 50% ในปี พ.ศ. 2593

9

6

ระบบปรับอากาศจะใช้งานตลอดปีทั้งในฤดูร้อนและฤดู หนาว โดยท�ำให้ขับขี่ได้สบายมากขึ้นและช่วยให้เกิด ทัศนวิสัยในการขับขี่ที่ดียิ่งขึ้น ระบบปรับอากาศสามารถท�ำงานได้หลากหลายหน้าที่ และสร้างความสบายให้เกิดขึ้นได้ เนื่องจาก g มีอุณหภูมิที่พอเหมาะ g มีการกรองอากาศ g มีการควบคุมความชื้นในอากาศ ระบบปรับอากาศจะช่วยปรับปรุงให้เกิดความปลอดภัย ยิ่งขึ้น เพราะสมาธิและการระแวดระวังของผู้ขับขี่ดีขึ้น และยังช่วยลดปัญหาดังต่อไปนี้ g ลดสิ่งที่สร้างความร�ำคาญและสิ่งรบกวนสมาธิ g ลดทัศนวิสัยที่ไม่ดี ช่วยให้ผู้ขับขี่ตอบสนองได้เร็วยิ่งขึ้น ระบบปรับอากาศ สร้างความสบายในห้อง โดยสารรถยนต์ตลอดทั้งปี ในฤดูร้อน ระบบปรับอากาศจะลดความร้อนของอากาศที่เข้ามาใน รถยนต์ตามอุณหภูมิที่ต้องการ (โดยทั่วไปจะอยู่ที่ ประมาณ 22 องศาเซลเซียส) และคงอุณหภูมิดังกล่าวไว้ แม้ว่าอุณหภูมิแวดล้อมจะเปลี่ยนแปลงไปก็ตาม (กลางวัน กลางคืน ฝนตก แดดออก เป็นต้น) ซึ่ง ประสิทธิภาพดังกล่าวเกิดขึ้นจากฟังก์ชั่นการปรับ อุณหภูมิ ในฤดูหนาว ฤดูใบไม้ร่วง และฤดูใบไม้ผลิ ระบบปรับอากาศจะช่วยให้อากาศแห้งมากขึ้นฟังก์ชั่นนี้ จะช่วยขจัดหมอกที่เกิดขี้นบนกระจกบังลม และหน้าต่างใน รถยนต์จะถูกใช้งานตลอดเวลาไม่ว่าอากาศจะร้อนหรือเย็น ก็ตามทั้งในเขตภูมิศาสตร์และฤดูกาลต่างๆ กัน สภาพอากาศแวดล้อมจะวัดจากปริมาณความร้อน พลวัต 2 ค่า คือ g อุณหภูมิ g ความชื้น ห้องโดยสารรถยนต์ จึงเกิดความปลอดภัยมากยิ่งขึ้น การขจัดหมอกนี้จะเกิดขึ้นได้จากการรวมตัวกันของอากาศ ที่ปรับอุณหภูมิแล้วกับความร้อน

10

7

7.1 กลไกการปรับความร้อนใน ร่างกายมนุษย์ ความสบาย ที่เกิดจากอุณหภูมิ

มนุษย์เป็นสัตว์เลือดอุ่น หมายความว่า อุณหภูมิภายใน ร่างกายจะอยู่ที่ประมาณ 37 องศาเซลเซียส ( ± 0.5 องศา เซลเซียส) เมื่อเกิดความไม่สบายต่างๆ ร่างกายมนุษย์จะมีปฏิกิริยา ตอบสนองโดยกระตุ้นให้กลไกทางสรีระท�ำงาน ปรับให้เกิด ความสมดุลของความร้อนภายในร่างกาย g การหดขนาดของเส้นเลือด ช่วยควบคุมการไหลเวียน ของโลหิต ลดความร้อนที่ไหลเวียนไปยังแขนขา และ หากเส้นเลือดขยายตัว ก็จะท�ำให้ร่างกายเย็นลง g การสั่นของร่างกาย จะท�ำให้อุณหภูมิภายในร่างกายสูง ขึ้น และเปลี่ยนแปลงสภาวะการแลกเปลี่ยนความร้อน ระหว่างผิวหนังชั้นบนกับอากาศภายนอก (ขนลุก) g การขับเหงื่อร่างกาย จะเย็นลงเพราะการระเหยของ เหงื่อผ่านชั้นผิวหนัง อุณหภูมิ การแลกเปลี่ยนความร้อนระหว่างอุณหภูมิภายนอกกับ ร่างกายของมนุษย์จะเกิดขึ้นผ่านผิวหนัง หากอุณหภูมิของ อากาศแวดล้อมสูงกว่า 32.2 องศาเซลเซียส การกระจาย ความร้อนจะไม่สามารถรักษาอุณหภูมิของร่างกายไว้ ที่ 37 องศาเซลเซียสได้ ต่อมเหงื่อก็จะท�ำงานโดยขับเหงื่อ ออกมาบนผิวหนังชั้นบน เมื่อเหงื่อระเหยผิวหนังก็จะเย็น ลง

11

7. ความสบายที่เกิดจากอุณหภูมิ

ความสบายที่เกิดจากอุณหภูมิจะเกิดขึ้นได้เมื่อถึงจุด ที่ความร้อนเป็นกลางแล้ว เราจึงไม่รู้สึกว่าร้อนหรือ เย็นเกินไป ในทางสรีรศาสตร์ จุดที่เกิดความเป็น กลางนี้ หมายถึง ความสมดุลระหว่างการไหลของ ความร้อนที่เกิดขึ้นจากกระบวนการเมตาบอลิซึม และการแลกเปลี่ยนสภาพอากาศภายนอก g การเกิดความร้อน (กระบวนการเมตาบอลิซึม) ของ ร่างกายส่วนที่กระจายความร้อน g การถ่ายโอนระหว่างภายในร่างกายและผิวหนังด้านบน g การแลกเปลี่ยนความร้อนผ่านปอด โดยขับไอน�้ำออก มาก และเพิ่มอุณหภูมิของอากาศที่หายใจออกมา g การแลกเปลี่ยนมวลผ่านการระเหยของเหงื่อ g การพาความร้อนระหว่างผิวหนังและอากาศแวดล้อม g การแผ่รังสีแสงอาทิตย์โดยตรงหรือการแผ่รังสีที่กระทบ จากวัตถุ

การปรับสมดุลของอุณหภูมิ อุณหภูมิที่สบายจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อการไหลของพลังงานไป ยังส่วนต่างๆ ของร่างกายโดยที่ร่างกายไม่มีสิ่งใดปกปิดอยู่ ร่างกายจึงสบายขึ้นเนื่องจากเกิดความสมดุล ความร้อน ภายในร่างกายจะขึ้นอยู่กับกิจกรรมที่ก�ำลังท�ำอยู่ด้วย ร่างกายจึงชดเชยความร้อนที่เกิดจากการไหลของพลังงาน ไปตามสภาพแวดล้อม ความสามารถในการดูดซับไอน�้ำของอากาศอีก 70% ที่ เหลือยังสามารถท�ำงานต่อไปได้ เหงื่อที่ขับออกมาจะระเหย ได้ง่ายขึ้น ร่างกายจึงเย็นลง ความชื้น หากอากาศแวดล้อมมีความชืื้นสูง (60% ขึ้นไป) จะมีน�้ำอยู่ ในอากาศมากเช่นเดียวกัน ผิวหนังของมนุษย์จึงไม่สามารถ ขับเหงื่อออกมาได้อีก เราจึงรู้สึกร้อน ในทางตรงกันข้าม หากความชื้นของอากาศอยู่ที่ประมาณ 30%

การไหลดังกล่าวจะตอบสนองกลไกต่อไปนี้

12

7.2 ความสบายทางสรีรศาสตร์ การรับรู้ความสบายทางสรีรศาสตร์ค่อนข้างเป็นเรื่องอัตวิสัย คือ แต่ละคนจะรับรู้ความสบายแตกต่างกัน การรับรู้ถึง ความร้อนจึงขึ้นอยู่กับอุณหภูมิและความชื้นของอากาศ ความสบายจึงหมายถึงหลายๆ ปัจจัยรวมกัน ตัวอย่างเช่น อากาศแห้งจะสบายกว่าอากาศชื้นซึ่งถือเป็น ตัวอย่างที่ดีของอุณหภูมิที่ปรากฏ ภาพด้านล่างแสดงถึงอิทธิพลของความชื้นที่มีต่อการรับรู้ อุณหภูมิของคนเราและความสบายที่เกิดขึ้น

การวิเคราะห์พฤติกรรมของผู้ขับขี่ได้แสดงให้เห็นอุณหภูมิที่ ท�ำให้เกิดความสบายโดยเฉลี่ย ผู้ออกแบบระบบท�ำความ เย็นและปรับความชื้นในอากาศ จึงใช้ค่าต่างๆ ดังกล่าวมา ก�ำหนดคุณสมบัติและรูปแบบของระบบท�ำความเย็นของ ตนเอง ภาพต่อไปนี้แสดงถึงความจ�ำเป็นในการปรับอุณหภูมิโดย เฉลี่ยที่ระดับศีรษะและระดับเท้ามีต่ออุณหภูมิภายนอก รถยนต์ พึงสังเกตว่าในฤดูหนาว ความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิ ระดับศีรษะและระดับเท้าที่เกิดขึ้นจากระบบจะสูงกว่า ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดความสบายสูงสุดต่อผู้ขับขี่รถยนต์

อุณหภูมิที่มนุษย์รับรู้ได้เมือเปรียบเทียบกับความชื้น

อุณหภูมิที่รับรู้ (องศาเซลเซียส)

70

40 50 60

100

20 30

ความชื้น (%)

80

60

0 10

40

21

20

24

27

29

0

อุณหภูมิ (องศาเซลเซียส)

32

35

การกระจายความร้อนเมือเปรียบเทียบกับฤดูกาล

34

อุณหภูมิ ที่ระดับเทา

33°C

32

30

28

26

อุณหภูมิ ที่ระดับศีรษะ

25°C

24

22

20

-30

0

10

20

30

40

50

-20 -10

13

ได้เวลาเปลี่ยนแล้ว

ล�้ำหน้า แผงกรองอากาศ ห้องโดยสารรถยนต์รายแรก

ที่ยับยั้งสารก่อภูมิแพ้ได้ ประสิทธิภาพสูงสุดถึง 92%

© 2013 -Valeo Service www.pension-complete.com • Photos :Thinkstock / Fotolia / 1000&1 Images

เพือสุขภาพที่ดี เกิดความปลอดภัยและการทำ�งาน ที่ยอดเยี่ยมของระบบปรับอากาศ g เปลี่ยน ClimFilter TM Supreme ทุกๆ 15,000 กิโลเมตร หรือทุกปี g ปิดหน้าต่างรถยนต์เสมอเพือป้องกันไม่ให้สารก่อ ภูมิแพ้เข้ามาในห้องโดยสารรถยนต์ได้

ช่วยป้องกัน

เพือวงจรปรับอากาศที่มี ประสิทธิภาพ

อนุภาคอันตราย (ละอองเกสร ฝุ่น สปอร์ ควัน แบคทีเรียเขม่า ที่มีขนาดใหญ่ กว่า 0.1 μm ) ก๊าซอันตราย (โอโซน ไนโตรเจนไดออกไซด์ ทอลูอีนบิวเทน ซัลเฟอร์ได ออกไซด์ เป็นต้น)

กลิ่นอันไม่พึงประสงค์

สารก่อภูมิแพ้จาก ละอองเกสร ที่เข้ามาภายในห้องโดยสาร รถยนต์ ยับยั้งสารก่อ ภูมิแพ้ดังกล่าว

Automotive technology, naturally

8

ความสบาย และความปลอดภัยจาก ระบบปรับอากาศ กฎระเบียบว่าด้วยพื้นที่ละลายน�้ำแข็งตามมาตรฐาน 78/317 CEE (มาตรฐานยุโรป) กฎระเบียบว่าด้วยการละลายนํ้าแข็ง

หน้าที่ของระบบปรับอากาศไม่ได้จ�ำกัดอยู่เพียงแค่การ ก�ำหนดอุณหภูมิให้แก่ผู้ขับขี่รถยนต์เท่านั้น ระบบปรับอากาศ ยังเป็นส่วนส�ำคัญที่ท�ำให้เกิดความปลอดภัยอีกด้วย ซึ่งคุณสมบัตินี้ยังไม่เป็นที่ทราบกันแพร่หลายมากนัก การละลายนํ้าแข็ง/การขจัดหมอก ระบบท�ำความร้อนนอกจากจะช่วยละลายน�้ำแข็งและขจัด หมอกที่ติดอยู่หน้าต่างและกระจกรถยนต์แล้ว ยังช่วยให้เกิด ทัศนวิสัยในการขับขี่ที่ปลอดภัยยิ่งขึ้น g การออกแบบระบบการกระจายอากาศ โดยเฉพาะอย่าง ยิ่ง ตำ�แหน่งของช่องอากาศออกมีส่วนสำ�คัญต่อกระจก บังลมหน้า รวมถึงหน้าต่างด้านข้างให้ปราศจากหมอก g ระบบปรับอากาศช่วยขจัดหมอกที่เกาะอยู่บริเวณกระจก บังลมหน้ารถยนต์ g บริเวณที่เป็นส่วนทัศนวิสัยของกระจกบังลมต้องใช้งานได้ ตามมาตรฐานที่กำ�หนดไว้ ซึ่งเป็นส่วนสำ�คัญที่ต้อง คำ�นึงถึงเสมอเมือออกแบบรถยนต์ รถยนต์ทุกคันจะต้องติดตั้งระบบกำ�จัดหมอกและนํ้าแข็ง ออกจากผิวด้านหน้าของกระจกบังลม ดังนั้นระบบ ละลายนํ้าแข็งควรมีประสิทธิภาพมากพอที่จะสร้าง ทัศนวิสัยที่ดีเพือให้มองเห็นผ่านกระจกบังลมได้อย่าง ชัดเจนโดยเฉพาะในฤดูหนาว

B

A’

A

80% ของผิวกระจก ดานหนาจะตองละลาย ภายใน 20 นาที พื้นที่ A

พื้นที่ A' 80% ของผิวกระจก ดานหนาจะตองละลาย ภายใน 25 นาที

พื้นที่ B

95% ของผิวกระจก ดานหนาจะตองละลาย ภายใน 40 นาที

ประสิทธิภาพของระบบดังกล่าวควรตรวจสอบโดยกำ�หนด พื้นที่กระจกบังลมตามเวลาที่กำ�หนดไว้ หลังจากสตาร์ท เครืองยนต์และรถยนต์อยู่ในห้องทำ�ความเย็นระยะเวลาหนึ่ง g 20 นาที หลังจากเริ่มเวลาในการทดสอบ พื้นที่ A จะต้องละลายไป 80% g 25 นาที หลังจากเริ่มเวลาในการทดสอบ พื้นที่ A’ จะต้องละลายไป 80% g 40 นาที หลังจากเริ่มเวลาในการทดสอบ พื้นที่ B จะต้องละลายไป 95% กระจกบังลมที่เกิดความร้อนด้วยระบบไฟฟ้าถือเป็นตัวอย่าง ที่ดีในการก�ำหนดเวลาที่น�้ำแข็งจะละลายและทัศนวิสัยที่ เหมาะสม กระจกบังลมที่เกิดความร้อนด้วยระบบไฟฟ้าจะ ให้ผลโดยตรงและไม่ท�ำให้ผู้ขับขี่เกิดความรู้สึกไม่สบาย เนื่องจากเงียบและไม่ท�ำให้เกิดกระแสลมมากเกินควร แต่กระจกบังลมที่เกิดความร้อนด้วยระบบไฟฟ้าไม่ค่อยรู้จัก กันอย่างแพร่หลาย ยกเว้นในประเทศที่มีสภาพอากาศหนาว เย็น ทั้งนี้การใช้งานจะขึ้นอยู่กับระดับความสบายของผู้ใช้ งานแต่ละคนด้วย

15

9

ระบบปรับอากาศ เบื้องต้น

9.1 หน้าที่ของระบบปรับอากาศ เมือรู้สึกไม่สบายเนืองจากอากาศในรถยนต์ร้อนเกินไป แม้ว่าจะอยู่ในเขตอากาศอบอุ่นก็ตาม การแก้ไขปัญหา ดังกล่าวมีเพียงวิธีเดียวคือ เพิ่มการระบายอากาศเข้าไป เพือเร่งการไหลเวียนของอากาศภายในรถยนต์ให้มากขึ้น ผลจากการสำ�รวจพบว่า ในทางสรีรศาสตร์ การเพิ่มการ ระบายอากาศในรถยนต์สามารถชดเชยได้ด้วยการเพิ่ม อุณหภูมิในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ตัวอย่างเช่น อุณหภูมิ 24 องศาเซลเซียส ในอากาศที่นิ่ง ไม่ มีการไหลใดๆ จะมีค่าเท่ากับอุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส ของอากาศที่ไหลด้วยความเร็ว 1.5 เมตรต่อวินาที โดย อากาศทั้งสองมีความชื้นสัมพัทธ์ 50% เท่ากัน แต่การแก้ไข ปัญหาด้วยวิธีการนี้เป็นเพียงการแก้ไขปัญหา เฉพาะหน้า เท่านั้น เมือเวลาผ่านไปปัญหาเดิมจึงเกิดขึ้นได้อีก เนืองจากอุณหภูมิและความชื้นเกินขีดจำ�กัด แท้จริงแล้ว แม้แต่ระบบปรับอากาศที่มีประสิทธิภาพสูงสุด ก็ไม่สร้างความแตกต่างใดๆ หากมีอุณหภูมิมากกว่า 30 องศาเซลเซียส และมีความชื้นสัมพัทธ์ 70% นอกจากนี้ ความเร็วในการไหลของอากาศที่เพิ่มสูงขึ้น จะทำ�ให้เกิด ความรู้สึกไม่สบายตัวได้เมือต้องเดินทางนานขึ้น ดังนั้น ระบบทำ�ความเย็นจะต้องสามารถปรับระดับความสบายที่ ต้องการได้ไม่ว่าจะอยู่ในสภาพอากาศเช่นใดก็ตาม หน้าที่สำ�คัญของการปรับอากาศ ได้แก่ << สร้างอากาศที่สบายให้แก่ผู้ขับขี่ด้วยการปรับ อากาศที่ควบคุมได้ง่าย ไม่ซับซ้อน >> การควบคุมสภาพอากาศยังช่วยให้ข้อดีในการทำ�งาน อีกประการหนึ่ง คือ ปรับทัศนวิสัยบริเวณหน้าต่าง ของห้องโดยสารรถยนต์ชัดเจนยิ่งขึ้น

ระบบทำ�ความเย็น ระบบปรับอากาศ / วงจรปรับอากาศ (A/C)

9.2 ภาพรวมของระบบปรับอากาศ รถยนต์ที่ติดตั้งระบบปรับอากาศเพือสร้างอุณหภูมิที่สบาย และทำ�ให้เกิดความปลอดภัย หลักการพื้นฐาน คือ ไหลเวียนอากาศที่ปรับอุณหภูมิแล้ว ภายในรถยนต์ ระบบปรับอากาศจะทำ�งานดังนี้ g ปรับและกระจายอากาศภายในรถยนต์: วงจรปรับ อากาศและระบบปรับอากาศ g ทำ�ความเย็น: ระบบปรับอากาศ หรือวงจรปรับอากาศ g ควบคุมระบบ: แผงควบคุมและชุดควบคุม อิเล็กทรอนิกส์ของระบบปรับอากาศ (ECU)

16

ระบบทำ�ความเย็น: ระบบปรับอากาศหรือ วงจร A/C

ระบบการปรับ และกระจายอากาศ: ชุด HVAC

กลไกควบคุมระบบ: แผงควบคุมและชุดควบคุม อิเล็กทรอนิกส์ของระบบ ปรับอากาศ (ECU)

กลไกควบคุมระบบ: แผงควบคุมและชุดควบคุม อิเล็กทรอนิกส์ของ ระบบปรับอากาศ (ECU)

ระบบการปรับและ กระจายอากาศ: ชุด HVAC

17

ชุดระบบท�ำความร้อน การกระจายอากาศ และระบบท�ำความเย็น (HVAC)

10

ชุด HVAC จะทำ�งานได้โดยการใช้สาย เคเบิ้ลมาติดตั้งเพือใช้งาน นอกจากนี้ชุด HVAC ยังสามารถทำ�งานได้โดย อัตโนมัติด้วยมอเตอร์ไฟฟ้าขนาดเล็ก

มอดูล HVAC ของ Nissan Leaf

18

HVAC จะติดตั้งอยู่ในห้องโดยสารรถยนต์ใต้แผงอุปกรณ์ หากเป็นรถยนต์ใหญ่และรถยนต์ SUV จะใช้อุปกรณ์เพิ่มเติม g พัดลมเสริมกำ�ลัง (เครืองเป่าลม) ใช้ในการเพิ่มอัตราการ ไหลของอากาศ g HVAC ที่ติดตั้งท้ายรถ มักจะติดตั้งในฝาครอบป้องกัน (Boot) ชุด HVAC ที่ติดตั้งท้ายรถอาจเป็นชุดทำ�ความร้อนที่ติดตั้ง ท้ายรถ (ทำ�ความร้อนและระบายอากาศ) หรือชุดทำ�ความ เย็นที่ติดตั้งท้ายรถ (ทำ�ความเย็นและระบายอากาศ) หรือ อาจเป็นทั้งสองชุดก็ได้ ในรถตู้หรือรถโดยสารขนาดเล็ก ชุด HVAC บางประเภทอาจติดตั้งอยู่บนเพดานก็ได้

ทราบหรือไม่ รถยนต์ไฟฟ้า (EV) และรถยนต์ไฮบริด จะมีชุด ทำ�ความร้อนเสริมติดตั้งในชุด HVAC ซึ่งใช้ไฟฟ้า แรงสูงในการทำ�งาน ควรใช้ข้อกำ�หนดที่เหมาะสมก่อนบำ�รุงรักษาชุด ทำ�ความร้อนเสริมดังกล่าว ดูสายเคเบิลสีส้มบนชุด HVAC ของ Nissan Leaf

ชุด HVAC มีหน้าที่ดังนี้

กระจายอากาศ แผ่นเปิดปิดการขจัดหมอก แผ่นเปิดปิดอากาศด้านหน้า แผ่นเปิดปิดอากาศด้านล่าง

กรองอากาศ/ดักอากาศ ช่องอากาศ /แผงกรองอากาศ ห้องโดยสารรถยนต์

หมุนเวียนอากาศ ช่องอากาศเข้า

เป่าอากาศให้ไหล พัดลมเป่าอากาศ

ฟอกอากาศให้สดชื่น อีวาพอเรเตอร์ กรองอากาศ แผงกรองอากาศห้อง โดยสารรถยนต์

ผสมอากาศ แผ่นเปิดปิดอากาศที่ผสมแล้ว

ทำ�ความร้อน แผงเครืองทำ�ความร้อน

ชุด HVAC ระบบท�ำความร้อน การกระจายอากาศ และระบบท�ำความเย็น

19

10. ชุดระบบท�ำความร้อน การกระจายอากาศ และระบบ ท�ำความเย็น (HVAC)

10.1 การไหลเวียนของอากาศ อากาศเป็นองค์ประกอบสำ�คัญของวงจร HVAC

10.2 การจับอากาศจากภายนอก อากาศจากภายนอกจะเข้าสู่ห้องโดยสารรถยนต์ได้โดยไหล ผ่านช่องอากาศเข้าซึ่งอยู่ระหว่างกระจกบังลมและกระโปรง รถยนต์ ซึ่งในงานผลิตตัวถังรถยนต์จะเรียกช่องอากาศเข้า ว่า แผงกั้นน�้ำซึ่งท�ำหน้าเป็นแนวป้องกันระหว่างระบบปรับ อากาศและตัวถังรถยนต์ช่องอากาศเข้าจะมีตะแกรงระบาย อากาศบังไว้ ซึ่งตะแกรงนี้จะช่วยป้องกันไม่ให้สิ่งแปลก ปลอมต่างๆ เข้ามาในระบบปรับอากาศ เช่น ใบไม้ แมลง เศษขยะ หรือสัตว์ขนาดเล็กเป็นต้น ช่องอากาศเข้าจะติดตั้ง อยู่บริเวณที่ไวต่อความดันพลวัต ความกว้างของช่องอากาศเข้าจะต้องกว้างพอที่จะป้องกันไม่ ให้เกิดภาวะแรงดันสูญเสีย (head loss) ได้ อากาศร้อนที่ เกิดจากกระโปรงรถยนต์หรือมาจากห้องเครื่องจะไม่ถูกดูด เข้าไปในห้องโดยสารรถยนต์ ช่องทางเดินอากาศจึงต้องไม่มี สิ่งอุดตัน จนท�ำให้กลไกของอากาศเกิดการติดขัดในช่อง อากาศเข้าของพัดลมเป่าอากาศ 10.3 การกรองอากาศจากห้อง โดยสารรถยนต์ อากาศที่อยู่ในห้องโดยสารรถยนต์จะถูกกรองให้สะอาด เมื่ออากาศดูดเข้ามาและถูกกรองแล้วจะถูกส่งออกไปยัง ช่องกระจายอากาศที่แผงคอนโซล

ช่องอากาศเข้าจากภายนอก

อากาศไหลเวียนในห้องโดยสารรถยนต์ อากาศไหลเวียนที่ผ่านกรองอากาศ อากาศไหลเวียนซ�้ำ

20

ช่องระบายอากาศ (extractor) ผลิตจากแผ่นยาง ท�ำหน้าที่เป็น วาล์วเปิดปิด โดยจะเปิดให้อากาศไหลออกจากห้อง โดยสารรถยนต์และปิดเมื่อรถยนต์จอดนิ่งสนิท เพื่อป้องกัน ไม่ให้ความชื้นจากภายนอกไหลเข้ามาในห้องโดยสาร ช่องระบายอากาศจะติดตั้งในต�ำแหน่งใดต�ำแหน่งหนึ่งต่อไปนี้ g ด้านหลังรถยนต์ (หลังกันชน) g ในบังโคลนล้อ g ในตัวถังรถยนต์ด้านหลัง (ในหน้าต่างรถยนต์ด้านข้าง) g ในเสากลาง (ของรถยนต์แฮชแบ็ค 3 ประตู) 10.4 การไหลเวียนซํ้าของอากาศ อย่างที่ทราบกันแล้วว่า อากาศภายในห้องโดยสารรถยนต์ จะถูกปรับซ�้ำไปมา แต่ในบางครั้งการป้องกันไม่ให้อากาศ ภายนอกไหลเข้ามาในห้องโดยสารรถยนต์ถือเป็นเรื่องที่ ส�ำคัญอย่างยิ่ง ซึ่งลักษณะดังกล่าวเป็นหน้าที่ของระบบ ไหลเวียนซ�้ำของอากาศ การไหลเวียนซ�้ำของอากาศจะน�ำอากาศภายในห้อง โดยสารรถยนต์มาหมุนเวียนซ�้ำไปมา ขณะเดียวกันก็ ป้องกันไม่ให้อากาศจากภายนอกไหลเข้ามาภายในห้อง โดยสารรถยนต์ด้วย หน้าที่ของระบบไหลเวียนซ�้ำของอากาศ ได้แก่ g ช่วยให้ผู้ขับขี่ปกป้องตนเองจากมลภาวะภายนอกได้ g ประสานการท�ำงานอย่างรวดเร็วเพื่อปรับอากาศให้เกิด ความสบายเมื่อระบบเริ่มท�ำงาน (เป็นคุณสมบัติที่ผู้ใช้ น้อยคนจะรู้จัก)

แผ่นเปิดปิดการไหลเวียนซํ้าไปมา

ฟังก์ชั่นการหมุนเวียนซํ้าของอากาศจะติดตั้งถัดจาก ช่องลมออกจากชุด HVAC การไหลเวียนซ�้ำของอากาศอาจจะเปิดให้อากาศจาก ภายนอกไหลเข้ามาได้ทั้งหมด หรืออาจจะปิดไม่ให้อากาศ จากภายนอกไหลเข้ามาเลยก็ได้ หรืออาจจะน�ำอากาศ บริสุทธิ์และอากาศที่อยู่ภายในห้องโดยสารรถยนต์มาผสม กันก็ได้ แต่การไหลเวียนของอากาศจะมีเวลาการท�ำงานจ�ำกัด หรือหน้าต่างอาจมีหมอกจับ ผู้ขับขี่อาจรู้สึกตาแห้งหรือ คอแห้งได้ ในระบบปรับอากาศอัตโนมัติ แผ่นเปิดปิดนี้จะถูกควบคุม ด้วยชุดมอเตอร์เพื่อให้ผู้ขับขี่รู้สึกสบายมากที่สุดฟังก์ชั่น การไหลเวียนซ�้ำของอากาศจะท�ำงานร่วมกับเซนเซอร์ ตรวจจับคุณภาพอากาศ การตอบสนองของฟังก์ชั่นนี้จะไว มาก ทั้งนี้เพื่อป้องกันไม่ให้มลภาวะไหลเข้ามาภายในห้อง โดยสารรถยนต์ได้

ช่องระบายอากาศ

21

10. ชุดระบบท�ำความร้อน การกระจายอากาศ และระบบ ท�ำความเย็น (HVAC)

10.5 การขับอากาศให้เคลือนที่ อากาศภายในห้องโดยสารรถยนต์จะถูกขับดันด้วยมอเตอร์ พัดลม หรือที่รู้จักกันทั่วไปว่าพัดลมเป่าอากาศ

ชุดพัดลมเป่าอากาศ (ชิ้นส่วนเครืองเป่าลม) จะติดตั้ง อยู่ด้านในของชุด HVAC โดยมีส่วนประกอบ คือ g พัดลมเป่าอากาศ g มอเตอร์ขับ g ชุดควบคุมการทำ�งาน

พัดลม

มอเตอร์

ชุดควบคุม

22

พัดลมเป่าอากาศ จะถูกออกแบบมาโดยค�ำนึงถึงหลักการดังนี้ g ความร้อนที่ถูกดูดออกมาจากเครืองแลกเปลี่ยน ความร้อน เพือให้เกิดอัตราการไหลที่เหมาะสม g การสูญเสียความร้อนในวงจร เพือตั้งค่าความดัน

ชนิดของพัดลมเป่าอากาศ

พัดลมเปาอากาศ ชนิดดูดลมเขา 1 ชุด และอุปกรณอิเล็กทรอนิกส ด าิ ดู ด าุ ดุ ป อิเ็ กิ ก ั

พัดลมเปาอากาศชนิดดูดลมเขา 2 ชุด ด าิ ดู ด าุ ดั

พัดลมเปาอากาศพรอมชุดครอบ ด า อุ ด

ชุดควบคุมพัดลมเป่าอากาศ

ชนิด Resistive

กำ�ลังในการระบายอากาศจะถูกปรับโดยชุดควบคุม ความเร็วของพัดลมเป่าอากาศ โดยใช้อุปกรณ์ 2 ประเภท คือ g อุปกรณ์ Passive Resistive และมีตัวต้านทาน กระแสไฟฟ้า 2-3 ตัว ซึ่งตอบสนองความเร็ว 3-4 ระดับ ตัวต้านทานไฟฟ้าดังกล่าวจะผลิตจาก ขดลวดหรือเชือมติดกับชุดรองรับเซรามิก g ทรานซิสเตอร์กำ�ลัง สำ�หรับการปรับอย่างต่อ เนือง ชนิดของชุดควบคุมจะถูกกำ�หนดตามโครงสร้าง ของระบบปรับอากาศ

แบบเซรามิก แบบเซรามิก

แบบขดลวด แบบขดลวด

ชนิดอิเล็กทรอนิกส์

แบบ Linearั แบบ Linear

แบบ PWM แบบ PWM

23

10. ชุดระบบท�ำความร้อน การกระจายอากาศ และระบบ ท�ำความเย็น (HVAC)

10.6 การกรองอนุภาคที่ลอยตัวอยู่ ในอากาศ ระบบการปรับอากาศจะเผชิญกับก๊าซเสียเขม่าควันละออง ฝุ่น ละอองเกสรดอกไม้ และสารก่อภูมิแพ้จำ�นวนมาก มลพิษและอนุภาคต่างๆ จะถูกดักจับก่อนที่อากาศจะไหลเข้า สู่ห้องโดยสารรถยนต์ สิ่งแปลกปลอมที่มีขนาดใหญ่ เช่น ใบไม้ แมลง เป็นต้น จะ ถูกดักจับด้วยตะแกรงกรองอากาศเข้า ซึ่งมีตาข่ายขนาด 2–3 มิลลิเมตรติดตัั้งอยู่ และทำ�หน้าที่เป็นแผงกรองอากาศ ในชั้นแรก หากอนุภาคมีขนาดเล็กจะยิ่งมีความเสี่ยงต่อผู้ขับขี่และผู้ โดยสารมากยิ่งขึ้นอนุภาคที่มีขนาดเล็กกว่า 2.5 µm ถือเป็น อนุภาคที่อันตรายที่สุด แผงกรองอากาศห้องโดยสารรถยนต์ จะติดตั้งในระบบปรับอากาศเพือดักจับอนุภาคที่เป็นอันตราย ดังกล่าว

แผงกรองอากาศห้องโดยสารรถยนต์จะทำ�หน้าที่ 1. ปกป้องผู้ขับขี่ g ฟอกอากาศให้ปราศจากอนุภาคต่างๆ เช่น ก๊าซ สารก่อภูมิแพ้ และมลพิษ 2. เพิ่มประสิทธิภาพการทำ�งานของระบบปรับอากาศ g ป้องกันฝุ่นละอองสิ่งสกปรกไม่ให้เข้าไปยังระบบ ทำ�ความร้อนและระบบทำ�ความเย็น g ช่วยให้ระบบทำ�งานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด g ป้องกันไม่ให้คราบสกปรกติดหน้าต่างรถยนต์ เพือทัศนวิสัยที่ชัดเจนขึ้น

ช่วยป้องกัน

อนุภาคอันตราย (ละอองเกสร ฝุน สปอร ควัน แบคทีเรีย เขมา)

-ฝุนขนาดใหญ ทราย -ละอองเกสร -ฝุน

> 10 µm

กาซอันตราย (โอโซน ไนโตรเจนไดออกไซด ทอลูอีน บิวเทน ซัลเฟอรไดออกไซด เป‚นตƒน)

-อนุภาคน้ำมัน ดีเซล -เถาถาน -แบคทีเรีย

กลิ่นอันไมพึงประสงค

สารกอภูมิแพƒจากละอองเกสรที่เขƒามาภายใน หƒองโดยสารรถยนต (ยับยั้ง สารกอภูมิแพƒ ดังกลาว)

-ควันบุหรี่ /หมอกควัน/เขมา -สารกอภูมิแพ -กƒาซปนเป…†อน

< 1 µm > 10 µm - 1 µm

24

ตำ�แหน่งของแผงกรองอากาศ รูปทรงและขนาดของแผงกรองอากาศจะเป็นไปตาม โครงสร้างของชุด HVAC โดยอาจติดตั้งในตำ�แหน่งใด ตำ�แหน่งหนึ่ง ดังต่อไปนี้ 1 ในช่องลมเข้าก่อนพัดลมเป่าอากาศ 2. ในชุด HVAC ระหว่างพัดลมและอีวาพอเรเตอร์ 10.6.1 เทคโนโลยีแผงกรองอากาศ ภายในห้องโดยสารรถยนต์ แผงกรองอากาศภายในห้องโดยสารรถยนต์ แบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ g แผงกรองอากาศระดับอนุภาค หรือ PA g แผงกรองอากาศระดับอนุภาครวมพร้อมแอคทีฟ คาร์บอน หรือ CA g แผงกรองอากาศพร้อมโพลีฟีนอลและแอคทีฟ คาร์บอน (ยับยัั้ง สารก่อภูมิแพ้) หรือ PCA (neutralising allergen)

1

2

แผงกรองอากาศระดับ อนุภาครวม

แผงกรองอากาศพรอม โพลีฟนอล

แผงกรองอากาศระดับอนุภาค หรือ PA

มาตรฐาน

อัลทิเมต

พรีเมี่ยม

25

10. ชุดระบบท�ำความร้อน การกระจายอากาศ และระบบ ท�ำความเย็น (HVAC)

10.6.2 การทำ�งานของแผงกรองอากาศ ห้องโดยสารรถยนต์ การทำ�งานของแผงกรองอากาศห้องโดยสารรถยนต์กำ�หนด ตามปัจจัยดังต่อไปนี้ g ประสิทธิภาพและความสามารถในการดักจับฝุ่น ประสิทธิภาพคืออัตราส่วนของอนุภาคที่ถูกดักจับ ด้วยกระบวนการกรอง ประสิทธิภาพจะกำ�หนดตามขนาดของอนุภาคที่ กำ�หนดไว้ ในทางปฏิบัติ แผงกรองอากาศห้อง โดยสารรถยนต์ จะต้องดักจับอนุภาคที่มีขนาดเส้น ผ่านศูนย์กลาง 10 µm ได้ 100% และดักจับอนุภาค ที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.25 µm ได้ระหว่าง 10% - 30% ความสามารถในการดักจับฝุ่น คือ ปริมาณอนุภาคของแข็ง ที่แผงกรองอากาศสามารถดักจับไว้ได้ก่อนที่จะถึงค่าความ ต้านทานการไหลที่กำ�หนดไว้ หรือก่อนที่จะถึงกำ�หนดเวลา เปลี่ยนแผงกรองอากาศชุดใหม่ g การลดลงของแรงดัน ความแตกต่างของอากาศก่อนเข้าและหลังออกจาก กรองอากาศจะสัมพันธ์กับความต้านทานการไหล ของอากาศที่เกิดจากแผงกรองอากาศ ซึ่งอาจเรียกว่า “แรงดันสูญเสีย (head loss)” “แรงดันสูญเสีย (Head Loss)” จะขึ้นอยู่กับความสกปรก ของแผงกรองอากาศ และแผงกรองอากาศต้องมีแรงดัน สูญเสียที่อาจเกิดได้อย่างตํ่าที่สุด เพือทำ�ให้เกิด ประสิทธิภาพในการทำ�งานของระบบปรับอากาศสูงสุด

g ระดับการดูดซับก๊าซ คุณสมบัตินี้มีอยู่ในแผงกรองอากาศชนิดแอคทีฟ คาร์บอน (CA และ PCA) ซึ่งแสดงให้เห็นถึงปริมาณ ก๊าซที่ถูกดูดซับด้วยวัสดุของแผงกรองอากาศ การออกแบบแผงกรองอากาศห้องโดยสารรถยนต์เป็นการ แลกเปลี่ยนระหว่างความดันที่ลดลงและความสามารถใน การดักจับฝุ่น เพือทำ�ให้เกิดการไหลของอากาศที่เหมาะสม ในห้องโดยสารรถยนต์ รวมทั้งเกิดกระบวนการกรองที่มี ประสิทธิภาพ อายุการใช้งานของแผงกรองอากาศจะขึ้นอยู่กับปริมาณ สูงสุดของอนุภาคที่มีอยู่ก่อนที่แผงกรองอากาศจะอุดตัน อายุการใช้งานจึงแตกต่างกันออกไปตามสภาพการใช้งาน (เช่น มลภาวะแวดล้อม ความถี่ในการใช้ระบบปรับอากาศ เป็นต้น)

26

10.6.3 ขั้นตอนในการติดตั้งแผง กรองอากาศห้องโดยสารรถยนต์ ขั้นตอนในการติดตั้งจะแสดงไว้บนบรรจุภัณฑ์ของแผง กรองอากาศ ข้อดี g กำ�หนดตำ�แหน่งของแผงกรองอากาศห้องโดยสาร รถยนต์ g ใช้วิธีของวาลีโอเพื่อให้สามารถติดตั้งได้ในต�ำแหน่งที่ เหมาะสมที่สุด ช่วยให้ประหยัดเงินและเวลา g ป้องกันไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดขณะติดตั้ง (เช่น ติดตั้งผิด ด้าน) g ผลจากเทคโนโลยีดังกล่าวของวาลีโอ ซึ่งเป็น ผู้เชี่ยวชาญชั้นน�ำของยุโรปในการควบคุมอากาศใน ห้องโดยสารรถยนต์

ควรเปลี่ยนแผงกรองอากาศห้องโดยสารรถยนต์ปีละ หนึ่งครั้ง หรือทุกๆ 15,000 กิโลเมตร

Valeo P/N 701001 สำหรับ VOLKSWAGEN GOLF V/VI (10/03>09/2012)และ VOLKSWAGEN TOURAN (02/2003>)

ขั้นตอนการติดตั้งแผงกรองอากาศหองโดยสารรถยนต

27

10. ชุดระบบท�ำความร้อน การกระจายอากาศ และระบบ ท�ำความเย็น (HVAC)

10.7.1 ท่อฮีตเตอร์ g เครื่องแลกเปลี่ยนอากาศ/น�้ำ (ใช้พลังงานจากน�้ำ หล่อเย็นเครื่องยนต์) g เพิ่มอุณหภูมิห้องโดยสารรถยนต์ g ขจัดหมอก และละลายน�้ำแข็งที่เกาะกระจก 10.7.2 PTC PTC ย่อมาจาก Positive Temperature Coefficient (ค่าสัมประสิทธิ์อุณหภูมิบวก) PTC เป็นอุปกรณ์ทำ�ความร้อนที่ใช้พลังงานไฟฟ้า ซึ่ง เพิ่มเข้าไปในท่อฮีตเตอร์ ติดตั้งใกล้กับท่อฮีตเตอร์ บางครั้งอาจติดตั้งในท่อต่างๆ (เครืองฮีตเตอร์ทำ�ความ ร้อนระดับเท้า) PTC จะใช้กับระบบควบคุมสภาพอากาศเพือชดเชยการ ลดลงของความร้อนในเครืองยนต์ที่มีประสิทธิภาพสูง หลากหลายประเภท g รีเลย์ควบคุม หรืออุปกรณ์อัจฉริยะที่ถูกควบคุมผ่าน การเชือมต่อสือสารดิจิตอล (Lin Bus) ล�ำเลียงไปยังห้องโดยสารผ่านเครื่องกระจายความร้อน บางครั้งอุปกรณ์ท�ำความร้อนด้วยไฟฟ้าแบบเสริมจะ ติดตั้งเข้ากับระบบ เพื่อท�ำให้เกิดความร้อนมากขึ้น ในชั่วขณะหนึ่ง อุปกรณ์ก�ำเนิดความร้อนจะติดตั้งในชุด HVAC ต่อ จากพัดลมเป่าอากาศ 10.7 การทำ�ความร้อน การท�ำความร้อนเป็นหน้าที่เบื้องต้นของระบบปรับ อากาศ รถยนต์ทุกคันจะติดตั้งระบบท�ำความร้อน โดยทั่วไป น�้ำยาหล่อเย็นเครื่องยนต์จะเป็นแหล่งท�ำ ความร้อนของรถยนต์ ความร้อนที่เกิดขึ้นจากเครื่องยนต์ ส่วนหนึ่งจะถูก

PTC

ท่อฮีตเตอร์

28

10.8 การทำ�ความเย็นและลดความชื้น ในอากาศ ความเย็นเกิดจากอีวาพอเรเตอร์ ซึ่งท�ำหน้าที่เป็นเครื่อง แลกเปลี่ยนความร้อนเพื่อปรับอากาศจากภายนอกที่เข้า มาในห้องโดยสารรถยนต์ให้เย็นลง อากาศจากภายนอกจะเย็นลงเนื่องจากไหลผ่านครีบที่ อยู่บนอีวาพอเรเตอร์และถ่ายโอนความร้อนของอากาศ ไปยังน�้ำยาแอร์ จากนั้นอากาศเย็นจะถูกเป่าไปยังห้อง โดยสารรถยนต์โดยมีอุณหภูมิระหว่าง 2–10 องศา เซลเซียส โดยปกติแล้ว เรามักจะคิดว่า ระบบปรับอากาศเป็น เพียงการท�ำให้อากาศเย็นลง แต่หนึ่งในหน้าที่ส�ำคัญ ของระบบปรับอากาศ คือ ลดความชื้นของอากาศ ในสภาพที่อากาศหนาวเย็น การลดระดับความชื้น ใน ห้องโดยสารรถยนต์ถือเป็นสิ่งส�ำคัญอย่างยิ่ง หากมี ผู้โดยสารรถยนต์จ�ำนวนมาก จะท�ำให้เกิดหมอกเกาะที่ กระจกหน้าต่างรถยนต์อย่างรวดเร็ว การระบายนํ้า ความชื้นของอากาศจะกลั่นตัวเป็นหยดน�้ำได้เป็นอย่างดี หากกระบวนการกลั่นเกิดขึ้นบนครีบของอีวาพอเรเตอร์ ดังนั้นไอน�้ำ (น�้ำ) จะถูกกักเก็บและระบายออกผ่านท่อ ระบายน�้ำไปใต้รถยนต์

อีวาพอเรเตอร์ติดตั้งอยู่ด้านในชุด HVAC ถัดจากพัดลมเป่าอากาศ

น�้ำจะถูกระบายออกไปใต้รถยนต์

29

10 ชุดระบบทำ�ความร้อน การกระจายอากาศ และระบบ ทำ�ความเย็น (HVAC)

10.9 การผสมกันระหว่างความร้อน และความเย็น การควบคุมการผสมกันระหว่างความร้อนและความเย็น จะขึ้นอยู่กับโครงสร้างของระบบ บ่อยครั้งที่ชุด HVAC จะออกแบบมาพร้อมกับการผสม อากาศ และยังควบคุมอุณหภูมิได้โดยใช้อัตราการไหล ของน�้ำในท่อฮีตเตอร์ 10.9.1 เมื่อท�ำการผสมอากาศ ในระบบปรับอากาศที่ผู้ใช้ควบคุมอากาศเอง อากาศจะถูก ผสมโดยใช้แผ่นเปิดปิดที่อยู่ด้านชุด HVAC แผ่นเปิดปิด ดังกล่าวจะถูกกระตุ้นจากแผงควบคุมโดยใช้สายเคเบิล ขณะที่ระบบปรับอากาศอัตโนมัติจะใช้หลักการเดียวกัน แต่ จะติดตั้งแผ่นเปิดปิดในการผสมอากาศที่ท�ำงานด้วย มอเตอร์แทน การผสมกันระหว่างอากาศร้อนและอากาศเย็นจะถูกปรับ เพื่อควบคุมอุณหภูมิในห้องโดยสารรถยนต์ให้ตรงกับค่าที่ ก�ำหนดไว้

10.9.2 เมื่อปรับอัตราการไหลของ นํ้าร้อน บางระบบสามารถปรับความร้อนได้โดยปรับอัตราการไหล ของน�้ำร้อนในอุปกรณ์กระจายความร้อน (หม้อน�้ำ) ระบบพบทั้งในระบบปรับอากาศที่ผู้ใช้ปรับเองและระบบ ปรับอากาศอัตโนมัติ และอาจจะใช้กลไกวาล์วที่ควบคุม ด้วยสายเคเบิล หรือ วาล์วไฟฟ้าที่ควบคุมด้วย ECU ของระบบปรับอากาศก็ได้

การควบคุมความร้อนในท่อฮีตเตอร์

ควบคุมการไหลผานวาลวควบคุมแบบกลไก

ชองอากาศเขา

แผงควบคุมกลไก (ผานสายสลิง)

ควบคุมการไหลผานวาลวควบคุมแบบไฟฟา

ชุดควบคุมการปรับอากาศ (ควบคุมดวย PWM)

ชองอากาศเขา

ฟังก์ชั่นการผสมอากาศจะติดตั้งอยู่ในชุด HVAC ตรง ข้อต่อของกระแสอากาศร้อนและกระแสอากาศเย็น

30

10.10 การกระจายอากาศ การกระจายอากาศจะเป็นไปตามโครงสร้างของระบบ อากาศในชุดปรับอากาศจะไหลตรงไปยังช่องลมออกหลัก โดยใช้บานพับและอุปกรณ์ควบคุม (ตัวควบคุม แขนบังคับ สายเคเบิล เฟืองเกียร์หลัก เป็นต้น) HVAC บางชุดจะแยกระบบกระจายอากาศออกไป เพือให้ ผู้โดยสารสามารถปรับตั้งค่าเอง โดยแยกออกจากการ ปรับตั้งค่าของผู้ขับขี่ g ในระบบปรับอากาศที่ผู้ใช้ปรับเอง แผ่นเปิดปิดที่ติด ตั้ง อยู่ในอุปกรณ์นี้จะท�ำหน้าที่เป็นตัวควบคุมการ กระจายอากาศส่วนศีรษะ ตัก และเท้า โดยแผ่นเปิดปิด นี้จะถูกเปิดใช้งานด้วยแผงควบคุมที่ใช้สายเคเบิล g ในระบบปรับอากาศอัตโนมัติจะใช้หลักการเดียวกัน แต่ อุปกรณ์ดังกล่าวจะติดตั้งแผ่นเปิดปิดการผสมอากาศที่ ท�ำงานด้วยมอเตอร์ ซึ่งจะปรับการกระจายอากาศตาม ข้อมูลที่ได้รับและประวัติการใช้งานระบบ และฟังก์ชั่น ต่างๆ

การกระจายอากาศจะติดตั้งอยู่ใน ชุด HVAC ต่อจากการผสมอากาศ

31

11

วงจรปรับอากาศ

ในระบบปรับอากาศ ความเย็นจะเกิดขึ้นในวงจรปรับ อากาศ หรือวงจรท�ำความเย็น ระบบนี้จะเป็นวงจรที่เกิดวัฏจักรของเทอร์โมไดนามิกส์ หรือ อุณหพลศาสตร์ซ�้ำไปมา ซึ่งจะเกิดแลกเปลี่ยนความร้อนขึ้น จ�ำนวนมาก การแลกเปลี่ยนความร้อนดังกล่าวจะใช้น�้ำยาแอร์ดึงความ ร้อนออกมาจากห้องโดยสารรถยนต์ ท�ำให้ห้องโดยสารเย็น ลง แล้วจึงขับอากาศร้อนออกไปภายนอกรถยนต์

32

11.1 นํ้ายาแอร์ 11.1.1 ประเภทของนํ้ายาแอร์

ค่า GWP ของน�้ำยาแอร์จะค�ำนวณจากรอบเวลาใดรอบ เวลาหนึ่ง GWP100 หมายถึง รอบเวลา 100 ปี อาจกล่าวได้ว่า GWP100 ของ R134a เท่ากับ 1,430 ซึ่ง หมายความว่าอีก 100 ปีข้างหน้าน�้ำยาแอร์ R134a จะดัก จับความร้อนมากกว่าคาร์บอนไดออกไซด์ 1,430 เท่า หรือ อีก 100 ปีข้างหน้าน�้ำยาแอร์ R134a จ�ำนวน 1 กรัม จะมี ผลกระทบเท่ากับคาร์บอนไดออกไซด์ 1.43 กิโลกรัม ดังนั้นผู้ผลิตวงจรปรับอากาศจึงพยายามพัฒนาระบบ อย่างต่อเนื่องเพื่อลดผลกระทบที่เกิดขึ้นจากน�้ำยาแอร์ให้ มากที่สุด The ozone depletion potential ค่า ODP (Ozone Depletion Potential หรือ ค่าแสดง ระดับการท�ำลายโอโซน) ค่า ODP ของน�้ำยาแอร์ คือ ปริมาณที่ท�ำให้ชั้นโอโซนลดลง นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 เป็นต้นมา น�้ำยาแอร์ที่ได้รับอนุญาต ให้ใช้ในวงจรปรับอากาศรถยนต์จึงไม่มีผลกระทบ ต่อชั้นโอโซนเลย (ODP = 0)

น�้ำยาแอร์มี 3 ประเภท ได้แก่ CFC HCFC และ HFC ซึ่ง การจัดประเภทน�้ำยาแอร์จะพิจารณาจากองค์ประกอบทาง เคมีของน�้ำยาแอร์ HFC – HydroFluoroCarbon (ไฮโดรฟลูโรคาร์บอน) คือ น�้ำยาแอร์ที่ประกอบด้วย ไฮโดรเจน (H) ฟลูออรีน (F) และ คาร์บอน (C) น�้ำยาแอร์ HFC ที่ใช้กันทั่วไป คือ R134a ด้วยข้อจ�ำกัดด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อปกป้องชั้นบรรยากาศ หรือชั้นโอโซน และลดภาวะเรือนกระจก น�้ำยาแอร์บาง ชนิดจึงถูกยกเลิกการใช้งานไป นอกจากนี้ยังมีการก�ำหนด ค่า ODP (Ozone Depletion Potential หรือ ค่าแสดง ระดับการท�ำลายโอโซน) และค่า GWP (Global War- ming Potential หรือ ค่าแสดงระดับความสามารถในการ ก่อให้เกิดภาวะโลกร้อน) เป็นเกณฑ์ในการเลือกใช้น�้ำยา แอร์ด้วย The Global-warming potential GWP (Global Warming Potential หรือ ค่าแสดงระดับ ความสามารถในการก่อให้เกิดภาวะโลกร้อน) Global Warming Potential เป็นข้อก�ำหนดในการวัดระดับ การท�ำให้เกิดความร้อนของก๊าซเรือนกระจกที่ติดอยู่ในชั้น บรรยากาศของโลก GWP จะเปรียบเทียบปริมาณความร้อนที่ถูกดักจับไว้ด้วย ก๊าซปริมาณหนึ่งต่อปริมาณความร้อนที่ถูกดักจับด้วย คาร์บอนไดออกไซด์ที่เท่ากับก๊าซ (ค่า GWP ของ คาร์บอนไดออกไซด์เท่ากับ 1)

ประเภทของน้ำยาแอร— ช˜อน้ำยาแอร— ประเภทของน�้ำยาแอร์

CFC (ChloroFluoroCarbons) R12 Dichlorodi uoromethane

HCFC Blend (HydroChloroFluoroCarbons) R416a R134a/124/600(59.0/39.5/1.5)

HFC (HydroFluoroCarbons) R134a Tetra uoroethane

HFOs (HydroFluoroOle n) R1234yf Tetra uoropropene

CO

2 R744 Carbon Dioxide

CCl

F

Refrigerant blend

CH

FCF

CF

CF=CH

CO

2

2

2

3

3

2

2

F F C

โครงสร„างโมเลกุล

Cl

H

F

H

H

O=C=O

Cl CF F

F CC F

C=C

F

F

H F

GWP

10,890

1,100

1,430

4

1

(คาแสดงระดับความสามารถ ในการกอให„เกิดภาวะโลกร„อน)

100

คา ODP (คาแสดงระดับการทำลายโอโซน)

1

0.008

0

0

0

คา ODP และ GWP ตาม UNEP (United Nations Environment Programme หรือโครงการสิ่งแวดล„อมแหงสหประชาชาติ)

33

11. วงจรปรับอากาศ

11.1.2 ความเป็นมาและวันที่มีผลบังคับใช้

สารที่ทำลายชั้นโอโซน

สารที่กอใหเกิดภาวะโลกรอน

CO 2 R744

CFC’s R12

HCFC’s R416a

HFC’s R134a

1995

2013

HFO’s R1234yf

น�้ำยาแอร์ R12 จัดเป็นน�้ำยาแอร์ประเภท CFC และถูก ยกเลิกการใช้งานตั้งแต่ปี พ.ศ. 2538 น�้ำยาแอร์ R146a จัดเป็นน�้ำยาแอร์ประเภท HCFC ซึ่งถูก ดัดแปลงมาใช้กับน�้ำยาแอร์ R12 เท่านั้นและการใช้งาน ค่อนข้างมีข้อจ�ำกัด CFC และ HCFC จึงถูกยกเลิกไป โดยก�ำหนดให้ใช้น�้ำยา แอร์ R134a HFC แทน ซึ่งแสดงให้เห็นถึงก้าวส�ำคัญใน การลดผลกระทบที่มีต่อโลก

ด้วยการเป็นส่วนหนึ่งในการลดค่า GWP เพื่อให้เห็นผล อย่างชัดเจน คณะกรรมาธิการยุโรป (European Commission) จึงได้ก�ำหนดช่วงเวลาในการเปลี่ยนแปลง ดังกล่าว โดยเริ่มต้นตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ. 2556 ซึ่ง ต้องก�ำหนดแนวปฏิบัติใหม่ในการใช้น�้ำยาแอร์ให้มีค่า GWP ให้ตํ่าว่า 150 ฉะนั้น รถยนต์ที่ก�ำลังใช้งานอยู่หรือผลิตในช่วงเวลา ดังกล่าว จึงไม่จ�ำเป็นต้องด�ำเนินการเปลี่ยนแปลงใดๆ หาก ปีที่ผลิตออกมาไม่เกินปี พ.ศ. 2560 (หรือ ค.ศ. 2017) ทั้งนี้วันที่ยกเลิกการใช้น�้ำยาแอร์ R134a ในระบบปรับ อากาศทั้งหมดยังไม่มีก�ำหนดการที่แน่ชัด

2013 2017 วันที่มีผลบังคับใชของน้ำยาแอรในระบบปรับอากาศของรถยนต (2)

1995

R12

R134a (1)

R12

R134a

GWP<150

ODP=0 and

R12

R134a

ODP=0 and

GWP<150

(1) R146a ถูกนำมาใชชั่วคราวในวงจรปรับอากาศ (2) บางสวนถูกนำมาใชในป พ.ศ. 2554 และเล‚อนไปเป„น เดือนมกราคม พ.ศ. 2556

บำรุงรักษาระบบปรับอากาศ อยูระหวางการผลิต

รุนใหม

34

การระบายความรอน

สภาพแวดลอมของ เครองยนต

คอนเดนเซอร

คอมเพรสเซอร

เอกแพนชั่นวาลว

อีวาพอเรเตอร

สภาพแวดลอมของหอง โดยสารรถยนต

การทำความเย็นในหอง โดยสารรถยนต

11.2 วงจรแบบง่าย วงจรปรับอากาศใช้หลักการเปลี่ยนแปลงของสภาวะ น�้ำยาแอร์เพื่อท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความร้อนใน การแลกเปลี่ยนความร้อน ในการแลกเปลี่ยนความร้อน อุณหภูมิจะถ่ายเทจากร้อน ไปหาเย็น หลักการนี้จึงน�ำมาใช้กับเครื่องแลกเปลี่ยน ความร้อน 2 ชุดที่อยู่ในวงจรท�ำความเย็น ได้แก่ อีวา พอเรเตอร์ และคอนเดนเซอร์ การเปลี่ยนแปลงทั้งสองสภาวะของน�้ำยาแอร์ในเครื่อง แลกเปลี่ยนจะเกิดขึ้นจากการควบคุมความดันในวงจร ปรับอากาศ g ยิ่งความดันเพิ่มขึ้นอุณหภูมิจะยิ่งร้อนขึ้น ณ จุดที่ เกิดสภาวะการเปลี่ยนแปลง สภาวะของน�้ำยาแอร์ในวงจรปรับอากาศแบ่งออกเป็น 3 สภาวะ คือ ของเหลว กึ่งของเหลวกึ่งก๊าซ และก๊าซ ใน สภาวะที่น�้ำยาแอร์เป็นกึ่งของเหลวกึ่งก๊าซ ของเหลวส่วน หนึ่งจะเป็นก๊าซ ขณะที่อีกส่วนหนึ่งจะเป็นของเหลว สภาวะของน�้ำยาแอร์จะเปลี่ยนไปเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลง ของอุณหภูมิในคอนเดนเซอร์และอีวาพอเรเตอร์

g การเปลี่ยนสภาวะในอีวาพอเรเตอร์และคอนเดนเซอร์จะ ขึ้นอยู่กับชิ้นส่วนในวงจร 2 ชุด ได้แก่ คอมเพรสเซอร์ และ เอ๊กแพนชั่นวาล์ว g การเปลี่ยนสภาวะจากของเหลวเป็นก๊าซหรือจากก๊าซเป็น ของเหลว จะท�ำให้เกิดความร้อนสูงมากซึ่งความร้อนนี้จะถูก ถ่ายโอนเมื่ออุณหภูมิคงที่ ความดันในคอนเดนเซอร์และอีวาพอเรเตอร์จะเปลี่ยนไป ตามการแลกเปลี่ยนความร้อนที่เกิดขึ้นกับอากาศจาก ภายนอก

เพิ่มความดันกาซ เพิ่มอุณหภูมิ

ความดันกาซ

คอมเพรสเซอร

การถายโอนระยะที่ 1

ควบแน€น

ถายโอนความรอน

คอนเดนเซอร

ลดความดัน

ความดันลดลง

ลดอุณหภูมิ

เอกแพนชั่นวาลว

การถายโอนระยะที่ 2

ระเหย

ถายโอนความรอน

อีวาพอเรเตอร

35

11. วงจรปรับอากาศ

11.2.1 อุณหภูมิจุดเดือดกับความดัน จุดเดือดของน�้ำยาแอร์เกิดจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ในคอนเดนเซอร์และในอีวาพอเรเตอร์ โดยน�้ำยาแอร์ อาจจะระเหยหรือควบแน่นก็ได้ขึ้นอยู่กับการเปลี่ยนแปลง ของอุณหภูมิ

2. น�้ำยาแอร์ในคอนเดนเซอร์จะควบแน่นในระหว่างเกิดการ แลกเปลี่ยนกับอากาศเย็นจากสภาพอากาศภายนอก ดังนั้น ความร้อนจึงถูกขับออกมาสู่ภายนอก g การเปลี่ยนแปลง 2 ระยะ (ระเหย/ควบแน่น) g การเปลี่ยนแปลง 2 ระยะ เมือมีความดันแตกต่างกัน 2 ค่า g การเปลี่ยนแปลงความร้อน 2 ครั้งในเครืองแลกเปลี่ยน ความร้อน 2 ชุด (อีวาพอเรเตอร์/คอนเดนเซอร์)

1. ของเหลวในอีวาพอเรเตอร์จะระเหยออกมาในระหว่าง เกิดการแลกเปลี่ยนความร้อนกับอากาศร้อนจากสภาพ อากาศภายนอก ดังนั้นห้องโดยสารรถยนต์จึงเย็นลง

ดานแรงดันสูง

ดานแรงดันต่ำ

ความดันสัมบูรณ (บาร)

อุณหภูมิจุดเดือด (องศาเซลเซียส)

ความดันสัมบูรณ (บาร)

อุณหภูมิจุดเดือด (องศาเซลเซียส)

R134a

6,46 9,12 9,63

24,0°C 36,0°C 38,0°C 40,0°C 42,0°C 44,0°C 48,0°C 52,0°C 56,0°C 60,0°C 70,0°C

2,34 2,53 2,72 2,93 3,15 3,38 3,62 3,88 4,43 5,04 5,72

-6,0°C -4,0°C -2,0°C 0,0°C 2,0°C 4,0°C 6,0°C 8,0°C 12,0°C 16,0°C 20,0°C

10,17 10,72 11,30 12,53 13,85 15,28 16,82 21,17

อีวาพอเรเตอร

คอนเดนเซอร

พัดลมคอนเดนเซอร

พัดลมเปาอากาศ

การเพิ่มความรอน ทำใหเกิด การระเหยภายในอีวาพอ เรเตอร

การระบายความรอน ทำใหเกิด การควบแนนภายใน คอนเดนเซอร

36

11.2.2 วงจรสมบูรณ์ วงจรปรับอากาศประกอบด้วย 5 ส่วนประกอบหลัก ได้แก่ คอมเพรสเซอร์ คอนเดนเซอร์ กรองน�้ำยาแอร์ เอ๊กแพนชั่นวาล์ว อีวาพอเรเตอร์ อุปกรณ์นิรภัย 2 ชุด ได้แก่ สวิตช์ควบคุมความดันและเซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ ของอีวาพอเรเตอร์ อุปกรณ์ระบายอากาศ 2 ชุด ได้แก่ พัดลมระบายความร้อนคอนเดนเซอร์และพัดลม เป่าอากาศ ซึ่งจะเป่าอากาศเข้าไปยังห้องโดยสารรถยนต์ ชิ้นส่วนอีก 1 ชุด ซึ่งช่วยกรองอากาศที่เข้ามาใน ห้องโดยสารรถยนต์ คือแผงกรองอากาศห้องโดยสารรถยนต์

ภาพต่อไปนี้แสดงถึงอุณหภูมิ ความดัน และสภาวะของ น�้ำยาแอร์ในวงจรปรับอากาศ ค่าความดันและอุณหภูมิจะเปลี่ยนไปตามการ แลกเปลี่ยนความร้อนในเครื่องแลกเปลี่ยน และขึ้นอยู่ กับสถานะของระบบ ณ จุดที่ตั้งค่าไว้ในเวลาต่างๆ

อีวาพอเรเตอร์

เอ๊กแพนชั่นวาล์ว

พัดลมเป่าอากาศ

คอนเดนเซอร์

ของเหลว–ความดันสูง (HP) อุณหภูมิปานกลาง

ก๊าซ–ความดันสูง (HP) อุณหภูมิสูง

กรองน�้ำยาแอร์

ก๊าซ–ความดันตํ่า (LP) อุณหภูมิตํ่า

คอมเพรสเซอร์

ระดับอุณหภูมิและความดันในวงจรปรับอากาศ

37

11. วงจรปรับอากาศ

6

3

2

7

5

1

น�้ำยาแอร์ที่ไหลไปยังคอมเพรสเซอร์จะต้องอยู่ในสภาวะ ก๊าซทั้งหมด 100 % น�้ำยาแอร์จะต้องมีความดันตํ่า (LP) และมีอุณหภูมิตํ่าด้วยเส้นผ่านศูนย์กลางของท่อ ควรมีขนาดใหญ่ที่สุดในระบบ น�้ำยาแอร์จะถูกบีบอัดในคอมเพรสเซอร์โดยเปลี่ยนจาก ความดันตํ่าเป็นความดันสูง (HP) อุณหภูมิของน�้ำยา แอร์จะเพิ่มขึ้นอย่างชัดเจน แต่ยังคงอยู่ในสภาวะก๊าซ เช่นเดิม เมื่อน�้ำยาแอร์ไหลเข้าสู่คอนเดนเซอร์ คอนเดนเซอร์ จะเปลี่ยนสภาวะจากก๊าซทั้งหมด 100% ไปเป็นสภาวะ ของเหลวทั้งหมด 100% โดยจะคายความร้อนออกมา อุณหภูมิจึงลดลงแต่ความดันจะยังคงสูงอยู่เช่นเดิม จากนั้นน�้ำยาแอร์จะไหลเข้ากรองน�้ำยาแอร์ ซึ่งน�้ำยา แอร์จะถูกกรองและก�ำจัดความชื้นและสภาวะความ ดันหรืออุณหภูมิของน�้ำยาแอร์จะไม่เปลี่ยนแปลง ต่อจากนั้นน�้ำยาแอร์จะไหลไปยังเอ๊กแพนชั่นวาล์วซึ่ง วาล์วนี้จะเปลี่ยนน�้ำยาแอร์จากสภาวะของเหลวที่มี ความดันสูงไปเป็นสภาวะกึ่งของเหลวกึ่งก๊าซที่มี ความดันต�่ำ กระบวนการนี้จะมีผลให้อุณหภูมิลดลง อย่างรวดเร็วจนเท่ากับจุดเดือดของน�้ำยาแอร์ ทั้งนี้จะ ขึ้นอยู่กับระดับการดูดของคอมเพรสเซอร์ หากต้องการให้ระบบปรับอากาศท�ำงานอย่างเต็ม ประสิทธิภาพ จะต้องท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง สภาวะของน�้ำยาแอร์อย่างเหมาะสม

4

1

จากนั้นน�้ำยาแอร์จะไหลไปยังอีวาพอเรเตอร์ซึ่งจะท�ำ ให้อากาศจากภายนอกเย็นลงเมื่อน�้ำยาแอร์ไหลผ่าน อีวาพอเรเตอร์ อากาศจากภายนอกจะสูญเสียความ ร้อนและไหลเข้าสู่ห้องโดยสารรถยนต์ เมื่อมีอุณหภูมิ ต�่ำและอยู่ในสภาวะสูญเสียความชื้นน�้ำยาแอร์จะดูด ซับความร้อนในอีวาพอเรเตอร์ เพื่อเปลี่ยนไปอยู่ใน สภาวะก๊าซอุณหภูมิจะสูงขึ้น แต่ความดันจะยังคงไม่ เปลี่ยนแปลง น�้ำยาแอร์จะไหลกลับไปยังจุดเริ่มต้น ปริมาณของน�้ำยาแอร์ในวงจรปรับอากาศจะมีผลต่อ การท�ำงานของระบบอย่างมากปริมาณของน�้ำยาแอร์ จะถูกก�ำหนดไว้ให้เหมาะสมกับการใช้งานแต่ละ ประเภท ซึ่งสามารถค้นหาได้จากฐานข้อมูลน�้ำยาแอร์ ของวาลีโอ ควรตรวจสอบปริมาณน�้ำยาแอร์และสภาพของชิ้นส่วน ต่างๆ (การรั่ว สนิม เสียงดังรบกวน เป็นต้น) เมื่อ ท�ำการบ�ำรุงรักษาระบบปรับอากาศ วาลีโอได้แสดงข้อวินิจฉัยที่เหมาะสมไว้ รวมทั้งแสดง เครื่องมือซ่อมบ�ำรุงที่พร้อมและเหมาะสมต่อการแก้ไข ปัญหาต่างๆ ที่อาจพบได้ในการบ�ำรุงรักษาและ ซ่อมแซมระบบปรับอากาศ

6

2

7

3

4

5

38

Made with FlippingBook Online newsletter