VS - Air Conditioning The AC System Thermal comfort loop val

5.2 ข้อตกลงเบื้องต้นของพิธีสารเกียวโต แต่ละประเทศอาจน�ำพิธีสารเกียวโตไปบังคับใช้แตกต่างกัน แต่มีเป้าหมายเดียวกัน 5.2.1 การตรวจสอบย้อนกลับของปริมาณนํ้ายาแอร์ g ต้องตรวจสอบปริมาณการจัดจ�ำหน่ายน�้ำยาแอร์ g ต้องตรวจสอบปริมาณการใช้น�้ำยาแอร์ 5.2.2 ความพร้อมของศูนย์บริการและบุคลากร ศูนย์บริการจะต้องมีความพร้อมในการควบคุมจัดการน�้ำยาแอร์ g ศูนย์บริการจะต้องมีเครื่องมืออุปกรณ์ที่ถูกต้องเหมาะสม g บุคลากรต้องมีทักษะความช�ำนาญในการให้บริการ ด้านการปรับอากาศ 5.2.3 ขั้นตอนการบ�ำรุงรักษา g การเติมน�้ำยาแอร์ในวงจรปรับอากาศจะต้องด�ำเนินการเมื่อไม่มีการ รั่วไหลของวงจรเกิดขึ้น g เติมน�้ำยาแอร์ในวงจรที่ยังไม่มีน�้ำยาแอร์ได้ภายหลังจากที่ได้ ทดสอบและวินิจฉัยการรั่วไหลของน�้ำยาแอร์เสร็จสิ้นแล้วเท่านั้น g ห้ามปล่อยน�้ำยาแอร์ออกสู่บรรยากาศโดยเด็ดขาด 5.2.4 การพัฒนาระบบปรับอากาศ สืบเนื่องจากพิธีสารเกียวโต ผู้จัดจ�ำหน่ายระบบปรับอากาศจึงมีผล ผูกพันต่อการลดผลกระทบอันเกิดจากน�ำ้ยาแอร์ที่ท�ำให้เกิดภาวะโลก ร้อนและการสูญเสียชั้นบรรยากาศหรือโอโซน โดยได้ก�ำหนดตัวชี้วัด เพื่อประเมินผลกระทบของน�้ำยาแอร์ต่อชั้น บรรยากาศหรือโอโซน และภาวะโลกร้อน ดังนี้ g ODP (Ozone Depleting Potential) คือ ค่าแสดงระดับการ ท�ำลายโอโซน g GWP (Global Warming Potential) คือ ค่าแสดงระดับความ สามารถในการท�ำให้เกิดภาวะโลกร้อน

5.1 พันธกรณีเกียวโต น�้ำยาแอร์สร้างผลกระทบต่อโลกของเราเนื่องจากเพิ่ม ภาวะเรือนกระจกให้มากยิ่งขึ้น หลายประเทศได้ลงนามในพิธีสารเกียวโต และแสดง ความมุ่งมั่นที่จะลดผลกระทบอันเกิดจากระบบปรับอากาศ โดยก�ำหนดหลักเกณฑ์ในการให้บริการด้านปรับอากาศให้ รัดกุมมากยิ่งขึ้น และก�ำหนดให้มีตรวจสอบการด�ำเนิน ธุรกิจด้านนํ้ายาแอร์ในอุตสาหกรรมยานยนต์ เป้าหมายคือลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดยรวม ให้ลดลงในสัดส่วนอย่างน้อย 5% ซึ่งตํ่ากว่าระดับในปี 2533 ให้ได้ ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2551-2555 การให้สัตยาบันในพิธีสารเกียวโต พิธีสารเกียวโตเป็นพันธกรณีระหว่างประเทศ ซึ่งจัดตั้ง ขึ้นภายใต้อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Conven- tion on Climate Change, http://unfccc.int/2860.php) พิธีสารเกียวโต ประกาศที่เมืองเกียวโต ประเทศญี่ปุ่น เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2540 พิธีสารเกียวโตมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 วันที่น�ำไปปฏิบัติและบังคับใช้ในแต่ละประเทศจะแตกต่าง กัน โดยแต่ทุกประเทศจะต้องน�ำกฎระเบียบข้อบังคับ พื้นฐานไปปรับใช้ให้เกิดผลส�ำเร็จ g การประเมินผลในระยะที่หนึ่ง คือ สิ้นปี พ.ศ. 2555 g เป้าหมายต่อไป คือ ลดก๊าซเรือนกระจกลงอีก 20% ในปี พ.ศ. 2563 ซึ่งเป็นอัตราที่เปรียบเทียบกับอัตรา ในปี พ.ศ. 2533 (ข้อก�ำหนดของยุโรป หมายเลข 406/2009/CE) และลดลงอีก 50% ในปี พ.ศ. 2593

9

Made with FlippingBook Online newsletter