VS - Air Conditioning The AC System Thermal comfort loop val

12.1.4 ระดับความแรงในการดูด ระดับความแรงในการดูดของคอมเพรสเซอร์ท�ำให้เกิด สภาพการเปลี่ยนแปลงตามระยะเวลาที่น�้ำยาแอร์อยู่ ภายในอีวาพอเรเตอร์ ซึ่งเป็นปัจจัยที่มีความส�ำคัญอย่างยิ่ง ต่อการแลกเปลี่ยนความร้อนและการท�ำความเย็น ความดันจากการดูด (ความดันตํ่าของวงจรปรับอากาศ) จะ เกิดขึ้นจากคอมเพรสเซอร์ ซึ่งคอมเพรสเซอร์จะท�ำให้เกิด กระบวนการระเหยที่เหมาะสมภายในอีวาพอเรเตอร์ (ในน�้ำยาแอร์ R134a ต้องไม่น้อยกว่า 3 บาร์) การควบคุมระดับความแรงในการดูด หากความแรงในการดูดของคอมเพรสเซอร์ลดลงแสดงว่า g ความดันของอีวาพอเรเตอร์สูงขึ้นอุณหภูมิเดือดของ น�้ำยาแอร์จะสูงขึ้นด้วย g อุณหภูมิอีวาพอเรเตอร์สูงขึ้น g การแลกเปลี่ยนความร้อนกับอากาศแวดล้อมลดลง หากการดูดของคอมเพรสเซอร์สูงขึ้น แสดงว่า g ความดันของอีวาพอเรเตอร์ลดลง ดังนั้นอุณหภูมิเดือด ของน�้ำยาแอร์จึงลดลงด้วย g อุณหภูมิอีวาพอเรเตอร์ลดลง g การแลกเปลี่ยนความร้อนกับอากาศแวดล้อมเพิ่มขึ้น

12.1.5 ข้อจ�ำกัดของความดันจากการดูด หากเพิ่มการดูดน�้ำยาแอร์ความดันภายในอีวาพอเรเตอร์ จะลดลง g หากความดันตํ่าเกินไปอาจท�ำให้อุณหภูมิที่ผิวด้านหน้า ของอีวาพอเรเตอร์ลดตํ่าลงไปด้วย และอาจท�ำให้เกิด น�้ำแข็งได้ g หากผิวด้านหน้าของอีวาพอเรเตอร์กลายเป็นน�้ำแข็ง อาจท�ำให้การไหลของอากาศเกิดการอุดตันได้ ซึ่งเป็น อันตรายต่อการแลกเปลี่ยนความร้อนและการระเหย ของน�้ำยาแอร์ g สุดท้ายแล้วอาจเป็นอันตรายต่อคอมเพรสเซอร์ได้ เนื่องจากอาจลดปริมาณน�้ำยาแอร์ที่อยู่ในสภาวะ ของเหลว ซึ่งจะไหลผ่านช่องดูดอากาศ

ความดัน สัมบูรณ (บาร)

อุณหภูมิเดือด ของ R134a (องศาเซลเซียส)

1,57 1,71 1,85 2,01 2,17 2,34 2,53 2,72 2,93 3,15 3,38 3,62 3,88 4,43 5,04 5,72 6,46

-16 -14 -12 -10

ระดับความดัน จากการดูดที่ เปƒนอันตราย

อีวาพอเรเตอรกลายเปƒนน้ำแข็ง

-8 -6 -4 -2

0 2 4 6 8

3 บาร

ควบคุมความสามารถในการทำความเย็น

ระดับความดัน จากการดูดที่ เหมาะสม

12 16 20 24

ความดันสูงในวงจรปรับอากาศ (HP)

คอนเดนเซอร

ความดันตํ่าในวงจรปรับอากาศ (LP)

คอมเพรสเซอร ชองดูด

กรองน้ำยาแอร

อีวาพอเรเตอร

เอกแพนชั่นวาลว

43

Made with FlippingBook Online newsletter