VS - Air Conditioning The AC System Thermal comfort loop val

12. ส่วนประกอบ ของวงจรปรับอากาศ

การทำ�งาน ด้านนํ้ายาแอร์

การเปลี่ยนคอนเดนเซอร์ ในกรณีที่เกิดอุบัติเหตุเกิดการกระแทก หรือการรั่วไหล จะต้องเปลี่ยนคอนเดนเซอร์โดยทันที ปัญหาทั่วไปที่มักจะเกิดขึ้นกับคอนเดนเซอร์ g เกิดแรงกระแทกหรือสนิมขึ้นจนเกิดรูโหว่ g ครีบอุดตันหรือช�ำรุดเนื่องจากมีแมลงเกิดคราบสกปรก หรือใช้น�้ำยาท�ำความสะอาดที่มีความดันสูง g เกิดการรั่วไหลจากการเชื่อมต่อระหว่างช่องเข้าและช่อง ออก g ประสิทธิภาพการท�ำงานไม่ดีพอ เนื่องจากใช้ผลิตภัณฑ์ ที่ไม่ได้คุณภาพ ด้านอากาศ 1. ช่วงแรกของคอนเดนเซอร์ อากาศที่เข้ามาจะอุ่น พอสมควร (ประมาณ 20 – 35 องศาเซลเซียส) 2. ในคอนเดนเซอร์ กระแสอากาศจะค่อยๆ ร้อนขึ้น เนื่องจากดูดซับความร้อนที่เกิดจากน�้ำยาแอร์ 3. ช่วงท้ายของคอนเดนเซอร์ อากาศที่จ่ายออกมาจะอุ่น มากกว่าอากาศที่เข้าไป (ประมาณ 50 – 65 องศา เซลเซียส)

1. ช่วงแรกของคอนเดนเซอร์ จะมีสถานะก๊าซที่จ่าย ออกมาจากคอมเพรสเซอร์ จะมี g อุณหภูมิสูง (ประมาณ 60 - 120 องศาเซลเซียส) g ความดันสูง (ประมาณ 10 - 20 บาร์) 2. ในคอนเดนเซอร์นํ้ายาแอร์ให้ความร้อนใน กระบวนการดังต่อไปนี้ g การลดความร้อนอย่างยวดยิ่ง (Desuperheating) (ลดลงประมาณ 20 – 30 องศาเซลเซียส) g เกิดการควบแน่น (การปรับไอให้เป็นของเหลว เมื่อมีอุณหภูมิและความดันคงที่) g เกิดสภาวะเย็นยวดยิ่ง (Subcooling) (ของเหลว อิ่มตัวโดยอุณหภูมิลดลงประมาณ 5 – 10 องศา เซลเซียส) โดยสัมพันธ์กับอุณหภูมิควบแน่น 3. ช่วงท้ายคอนเดนเซอร์ นํ้ายาแอร์จะอยู่ในเฟสที่ เป็นของเหลว หากมี g อุณหภูมิปานกลาง (ประมาณ 45 – 55 องศา เซลเซียส) g ความดันสูง (ประมาณ 9 – 20 บาร์)

พัดลมทำความเย็น

คอนเดนเซอร

ความรอนจะถูกขับออกมาจากคอนเดนเซอร เกิดการเปลี่ยนแปลงสถานะของน้ำยาแอร

คอนเดนเซอร์

48

Made with FlippingBook Online newsletter