Valeoscope - Clutch DMF

คา T ใหนอยกวา 1 ในชวงของการขับขี่ ความถี่ เรโซแนนซเปนฟงกชั่นของความแข็งตึงและเปน ฟงกชั่นยอนกลับของความเฉื่อย f ~ √ [ความแข็งตึง/ความเฉื่อย] ความแข็งตึง คือ ความตานทานของวัตถุที่ยืดหยุนตอ การเปลี่ยนแปลงรูปรางที่เกิดขึ้นจากการกระทําของแรง เมื่อสปริงยืดหรือหดจะเกิดแรงตานใหสปริงเกิดดุลยภาพ เชนเดิม ความเฉื่อยหรือโมเมนตของความเฉื่อย คือ ความตานทานของวัตถุในการเปลี่ยนแปลงสภาพการ หมุนของวัตถุนั้นๆ ฟลายวีลและชุดคลัตช จึงผลิตขึ้น จากสวนประกอบที่หมุนได ความเฉื่อยของสวนประกอบ แตละชิ้น จะกําหนดสภาพการทํางานของชิ้นสวนเพื่อใหเรงหรือลด ความเร็ว ผลก็คือ ทําใหสวนประกอบแตละชิ้นสามารถ ตอบสนองตอการทํางานของแปนเหยียบคลัตชไดอยาง รวดเร็ว หากความแข็งตึงตํ่าและความเฉื่อยสูง ความถี่จะตํ่าลง ดังเชนใน D.M.F. และในทางตรงกันขาม หากความแข็งตึงสูงและความเฉื่อยตํา ความถี่จะสูงขึ้น ดังเชนในจานชนิดตัวหนวง 

เรโซแนนซทางกลศาสตร คือ แนวโนมของระบบกลไก ในการตอบสนองแอมพลิจูดที่สูงขึ้นเมñอความถี่ของการ แกวงตรงกับความถี่ปกติของแรงสั่นสะเทือนในระบบ (ความถี่พองหรือความถี่เรโซแนนซของระบบ):

ระดับแรงสั่นสะเทือน ที่ชุดเกียร T= <1 ระดับแรงสั่นสะเทือน ที่เครñองยนต

การสงผาน T

1

อัตราเร็วรอบเดินเบา ของเครñองยนต

ความเร็วของ เครñองยนต รอบตอนาที

เรโซแนนซของชุด คลัตชที่ไมมี D.M.F.

เรโซแนนซของชุด คลัตชที่มี D.M.F.

การสงผาน (T) คือ อัตราของแรงสั่นสะเทือนออก (ชุดเกียร) / แรงสั่นสะเทือนเขา (เครñองยนต) เมñอแรง สั่นสะเทือนจากชุดเกียรมากกวา แรงสั่นสะเทือนจาก เครñองยนต (การสงผาน > 1) เกิดการขยายตัว ซึ่งทําใหชุดเกียรเกิดเสียงดังรบกวนเปาหมายที่มี D.M.F. คือการเปลี่ยนความถี่เรโซแนนซของชุดขับ เพลาภายใตอัตราเร็วเดินเบาของเครñองยนต เพñอคง

13

Made with FlippingBook - Online Brochure Maker