Valeoscope - Clutch DMF

ระบบสงกําลัง ฟลายวีล แบบสองชั้น

ระบบสงกําลัง

ฟลายวีล แบบสองชั้น

valeoscope

คูมือด านเทคนิค

ชุดคลัตช  วาลีโอ ทุมเทความชํานาญและนวัตกรรม เพื่อสร างความพึงพอใจ ให แกลูกค า็ั

D.M.F./KIT4P ปรับได ตามต องการ! D.M.F. ● ออกแบบให มีความทนทาน ● ขับขี่ได สบายยิ่งขึ้น KIT4P ● คุ มคา & วางใจได  ● เปนอีกทางเลือกหนึ่งสําหรับทดแทน D.M.F. ไฮดรอลิก   ีัี่ ิ่ึุ้    ีืึ่ํัุิุ

คําตอบของเทคโนโลยีการปรับ ตั้งระยะหางอัตโนมัติในตลาด อะไหลทดแทน ตัวเลือก 2 ประการ: ัััิิ ัืีัั้

● เทคโนโลยีการปรับตั้งระยะหางอัตโนมัติ (ทางออกของอะไหลแท ติดรถยนตไปสูตลาด อะไหลทดแทน) ● คลัตช ประสิทธิภาพสูง (สําหรับตลาดอะไหลทดแทน) ข อดีหลัก 3 ประการ ● ติดตั้งงาย ไมจําเปนต องใช เครื่องมือพิเศษใดๆ ● ประหยัดและคุ มคา ● แรงเหยียบคงที่ = สร างความสบายสูงสุด ให กับผู ขับขี่ ััิ  ิ ู  ั ิิูํั  ีัิั้  ํ  ื่ืิัุ  ีี่ ูุุุ ัู ัี่

● ครอบคลุมรถยนตทุกยี่ห อ ● ติดตั้งได รวดเร็วและงายดาย ชุดอุปกรณ ทั่วไป ุี่ ิั้ ็ ุุุุ ั่ึุ่

● หนึ่งในกลุมผลิตภัณฑที่ครอบคลุมมากที่สุดในท องตลาด ● ผ าคลัตช วาลีโอมีคุณภาพสูงสุดในผลิตภัณฑประเภท เดียวกัน ิั ีุ่ีุ่ ุ ั ีีุูุิั ุุุุีัํีัั้

สารบัญ

เพิ่มเติมเกี่ยวกับ D.M.F. ของวาลีโอ

1. ขอจํากัดในความรับผิดชอบ

หนา 3

2. วาลีโอ ผูเชี่ยวชาญระบบสงกําลัง

หนา 4

3. Valeo-techassist.com

หนา 6

4. ทําไมตองฟลายวีลแบบสองชั้น (D.M.F.)?

หนา 7

5. สวนประกอบของฟลายวีลแบบสองชั้น 5.1 ชุดความเฉื่อยสวนที่หนึ่ง (แผน)

หนา 8 หนา 9 หนา 11

5.2 ชุดความเฉื่อยสวนที่สอง (แผน)

qr.valeodrive.com/998120/003098

6. การออกแบบฟลายวีลแบบสองชั้น

หนา 12

7. ขอดีที่โดดเดนของฟลายวีลแบบสองชั้น

หนา 14 หนา 14 หนา 14 หนา 14 หนา 15 หนา 15 หนา 17 หนา 19

7.1 ออกแบบเฉพาะสําหรับการใชงานในยานยนตแตละประเภท

7.2 ชวยใหการขับขี่สบายยิ่งขึ้น 7.3 ออกแบบใหมีความทนทานสูง

8. นวัตกรรมของเทคโนโลยีฟลายวีลแบบสองชั้น

8.1 D.M.F พรอมสปริงโคงภายใน 8.2 D.M.F พรอมสปริงตรงภายใน 8.3 ฟลายวีลแบบยืดหยุน

9. การวิเคราะหและวินิจฉัยความเสียหายที่เกิดขึ้น หนา 21 กับฟลายวีลแบบสองชั้น 9.1 การตรวจสอบดวยสายตา หนา 22 9.1.1 คราบจาระบีและนํ้ามัน หนา 22 9.1.2 เฟองวงแหวนสตารทสึกหรือชํารุด หนา 22 9.1.3 ภาระความรอนสูง หนา 23 9.2 การวัดคา “ความเอียง” หนา 24 9.3 การวัดคามุมอิสระของฟลายวีลสวนที่สอง หนา 25 10. การวิเคราะหอาการเสียของฟลายวีลแบบสองชั้น หนา 26 11. คําถามที่ถามบอย – ทุกเรื่องของฟลายวีลแบบ หนา 29 สองชั้นที่คุณอยากรู 12. บทสรุป หนา 31

1

คํานํา

ความชํานาญจากผูเชี่ยวชาญ ฝงอยูในยีนสของเรา ในฐานะที่เปนหนึ่งในผูผลิตและผูออกแบบระบบ ยานยนตชั้นนําการสงมอบ 14 สายผลิตภัณฑใหแก รถยนตนั่งสวนบุคคล และอีก 8 กลุมผลิตภัณฑสําหรับ ยานยนตบรรทุก จึงถือเปนเรñองปกติที่ใหบริการทุกชอง ทางในการจัดจําหนõายสินคาตั้งแตเครือขายผูผลิตรถยนต จนถึงผูคาอิสระในตลาดอะไหลทดแทนและการกระจาย สินคาสมัยใหมกวา 120 ประเทศทั่วโลก ระบบสงกําลังของวาลีโอ คือการเปนผูจัดจําหนõายทาง เลือกดานสถาปตยกรรมระบบสงกําลังทั้งหมดที่มี นวัตกรรมทางเทคโนโลยีซึ่งพัฒนาขึ้นเพñอการสงกําลัง จากเครñองยนตที่มีประสิทธิภาพและสะดวกสบาย โดยสง กําลังออกไปพรอมกับลดการสิ้นเปลืองนํามันเชื้อเพลิงได ในคราวเดียวกัน ชุดคลัตชวาลีโอทั้งหมดจึงออกแบบ และผลิตโดยใช มาตรฐานคุณภาพสูงสุดของวาลีโอ จึงทําใหไดผลิตภัณฑ วาลีโอ ที่มีประสิทธิภาพสูง เชñอถือได และลูกคาพึงพอใจ ประสิทธิภาพดังกลาวเกิดขึ้นจากความเชี่ยวชาญของ วาลีโอในการวิจัยและการพัฒนา ซึ่งชวยลดเสียงรบกวน และแรงสั่นสะเทือนของชุดคลัตช การเปลี่ยนเกียรดีขึ้น ผูโดยสารจึงรูสึกสบายเพราะการขับขี่ที่นุมนวลและราบ รñนยิ่งขึ้น 

วาลีโอ – ครองตําแหนงทั้ง ผูนําอะไหลแทติดรถจนถึง ผูเชี่ยวชาญตลาดอะไหลทดแทน ซึ่งเปนหนึ่งกลุมผลิตภัณฑของบริษัท คูมือดานเทคนิค เลมนี้จึงถือโอกาสนี้อธิบายถึงการออกแบบและขอดีๆ ตางๆ ของลอชวยแรงแบบสองชั้น นอกจากนี้ยังมีการตอบ ปญหาตางๆในของคําถามที่ถามบอยที่สุดอีกดวย วางใจไดเพราะชุดคลัตชวาลีโอสามารถทํางานไดดีแม ในสภาวะการทํางานที่รุนแรงที่สุดลูกคาในตลาดอะไหล ทดแทนของวาลีโอ ไดรับประโยชนจากความเชี่ยวชาญ ความเขมงวด และคุณภาพของชิ้นสวนที่ไดมาตรฐาน เดียวกันกับที่อยูในรถยนตใหมจากโรงงานประกอบรถยนต ปริมาณรถยนตทั่วโลกจะมีรถยนตนั่งสวนบุคคลอยู ประมาณ 69 % ซึ่งมีอัตราการเติบโตอยูที่ 3.9% ตอปทุกๆ วินาทีรถยนตนั่งสวนบุคคลหรือรถยนตเชิงพาณิชยขนาด เล็ก ไดถูกผลิตออกมาจากสายการผลิตโดยติดตั้ง D.M.F. มาแลว ซึ่งสวนแบงยังคงมีสัดสวนเพิ่มขึ้นอยางตอเนñอง ดังนั้น จึงคาดการณวาสวนแบงของยานยนตในยุโรปที่ติด ตั้ง D.M.F. แลวจะมีปริมาณเพิ่มขึ้น 39% ในป 2561 เนñองจากเทคโนโลยีตางๆไดพัฒนาขึ้นเรñอยๆ วาลีโอ เซอรวิส จึงไดผลิตลอชวยแรงแบบสองชั้นขึ้นมา

2

1

ข อจํากัด ในความรับผิดชอบ (ค) จํากัดตอความรับผิดใดๆ ของบริษัทหรือของผูใชตาม ที่ไมไดรับอนุญาตตามกฎหมายที่ใชบังคับ หรือ; (ง) ยกเวน ความรับผิดใดๆ ของบริษัทหรือของผูใชที่อาจไมไดรับการ ยกเวนตามกฎหมายที่ใชบังคับ ขอจํากัดและขอยกเวนในความรับผิดที่กําหนดไวในสวนนี้ และสวนอñนๆ ในขอจํากัดในความรับผิดนี้ (ก) จะอยูภายใต บังคับของความในวรรคขางตนและ (ข) ควบคุมความรับ ผิดทั้งหมดอันเกิดขึ้นภายใตขอจํากัดในความรับผิดชอบนี้ หรือตามเหตุของขอจํากัดในความรับผิดนี้ รวมถึงความรับ ผิดอันเกิดจากสัญญาในการละเมิด(รวมทั้งความประมาท) และการละเมิดตอการปฏิบัติหนาที่ตามกฎหมาย ตราบใดที่มีการจัดหาคูมือและเอกสารการฝกอบรมนี้ให โดยไมมีคาใชจายบริษัทจะไมรับผิดชอบตอความสูญเสีย หรือความเสียหายใดๆที่เกิดขึ้นทั้งสิ้น

เนñองดวยบริษัทไดพยายามตรวจสอบขอมูลที่รวบรวมอยู ในเอกสารการฝกอบรมนี้ใหมีความถูกตอง จึงไมรับประกัน ความถูกตองหรือความครบถวนสมบูรณ และไมไดตรวจ สอบวาขอมูลที่ในคูมือเลมนี้เปนปจจุบันหรือไม ตามอํานาจสูงสุดตามกฎหมายที่ใชบังคับอนุญาต จะไมรวม ถึงการนําเสนอ การรับประกัน และเงñอนไขที่เกี่ยวของ และการใชคูมือเลมนี้ (รวมถึงแตไมจํากัดเพียงการรับ ประกันโดยนัยใดๆตามกฎหมายในสวนที่เกี่ยวกับคุณภาพที่ นõาพอใจ ความเหมาะสมตอวัตถุประสงค และ/หรือการใช งานดวยทักษะและการดูแลที่เหมาะสม) การใดๆ ในขอจํากัดในความรับผิดชอบนี้จะ: (ก) จํากัดหรือ ยกเวนความรับผิดของบริษัทหรือของผูใชตอการเสียชีวิต หรือบาดเจ็บอันเกิดจากความประมาทเลินเลอ; (ข) จํากัด หรือยกเวนความรับผิดหรือของผูใชตอการฉอโกงหรือ หลอกลวงบิดเบือนความจริงของบริษัท

3

2

วาลีโอ ผูเชี่ยวชาญ ระบบสงกําลัง

วาลีโอ เปนผูจัดจําหนายอุปกรณยานยนต ซึ่งเปน พันธมิตรกับผูผลิตรถยนตทั่วโลกในฐานะที่เปนบริษัท ผูนําดานเทคโนโลยี วาลีโอจึงขอแนะนําผลิตภัณฑและ ระบบเชิงนวัตกรรมที่มีสวนชวยลดการปลอยกาซ คารบอนไดออกไซด (CO 2 ) และชวยพัฒนาการ ขับขี่ไดดีเยี่ยม ในป 2556 กลุมบริษัทสามารถสรางยอดขายไดถึง € 12.1 พันลานยูโรและนํายอดขายอะไหลแทติดรถ อยางนอย 10% ไปลงทุนในการวิจัยและพัฒนา วาลีโอมีสถานที่ผลิต 124แหง ศูนยการวิจัย 16 แหง ศูนยพัฒนา 35 แหง และชองทางในการกระ จายสินคา 12 แหง มีพนักงาน 74,800 คนใน 29 ประเทศทั่วโลก วาลีโอ ประกอบดวยกลุมธุรกิจ 4 กลุม ไดแก ระบบ สงกําลัง ระบบความรอน ความสะดวกสบาย และ การขับขี่ ระบบชวยเหลือและระบบการมองเห็น รวมกันแลว ทั้ง 4 กลุมธุรกิจนี้ประกอบดวย 16 กลุมสินคา จัดสงสินคาใหแกตลาดอะไหลแทติดรถ (OE) และตลาดอะไหลทดแทน กลุมผลิตภัณฑระบบ สงกําลังจึงเปนสวนหนึ่งของกลุมธุรกิจระบบสง กําลังของวาลีโอ

4

VALEO 2556

ยอดขายป 2556: 12 พันลานยูโร ซึ่งรวมถึง 15% ของยอดขายใน ตลาดอะไหลทดแทน และ 10.4% ของยอดขายอะไหลแทติดรถ ที่ ทุมเทใหกับการวิจัยและพัฒนา

พนักงาน 74,800 คน จํานวน 29 ประเทศ สถานที่ผลิต 124 แหง ศูนยพัฒนา 35 แหง ศูนยการวิจัย 16 แหง ชองทางในการกระจายสินคา 12 แหง

พรอมใหบริการทั่วโลก

อเมริกาเหนือ

อเมริกาใต

ยุโรปและแอฟริกา

เอเชีย

พนักงาน 9,965 คน สถานที่ผลิต 13 แหง ศูนยพัฒนา 5 แหง ชองทางในการกระจายสินคา 1 แหง 19% ของยอดขาย *

พนักงาน 3,500 คน สถานที่ผลิต 7 แหง ศูนยพัฒนา 3 แหง ชองทางในการกระจายสินคา 2 แหง 5% ของยอดขาย *

พนักงาน 37,143 คน สถานที่ผลิต 56 แหง ศูนยพัฒนา 28 แหง ชองทางในการกระจายสินคา 8 แหง 50% ของยอดขาย *

พนักงาน 24,192 คน สถานที่ผลิต 48 แหง ศูนยพัฒนา 15 แหง ชองทางในการกระจายสินคา 1 แหง 26% ของยอดขาย *

* % ยอดขายอะไหลแทติดรถในแตละภูมิภาค

5

3

Valeo-techassist.com

สามารถใชประโยชนจาก Valeo TechAssist ทั้งหมด ผานขั้นตอนการใหบริการจากศูนยบริการ: ● รับขอมูลผลิตภัณฑ: เอกสารขอมูลผลิตภัณฑซึ่งมีราย ละเอียดนอกเหนือจากขอมูลในแคตตาล็อก ● คนหาความขัดของทั่วไป: การวินิจฉัยความขัดของที ละขั้นตอนจะแสดงคําแนะนําเกี่ยวกับความผิดปกติที่ อาจเกิดขึ้น ● อัพเดตผลิตภัณฑการใหบริการของวาลีโอ: ไดรับ ขาวสารดานการใหบริการดานเทคนิคทั้งหมดอยาง เต็มรูปแบบ ● คนหาความชวยเหลือเมื่อมีความจําเปน: คําตอบ สําหรับคําถามที่ถามบอย และติดตอสายดวนการให บริการทางเทคนิคของวาลีโอ ● ใชเครื่องมือของศูนยบริการวาลีโอ อยางมี ประสิทธิภาพ: เรียกดูคูมือผูใช คูมือการใหบริการ และการปรับปรุงซอฟตแวรจากเครื่องมือการให บริการของวาลีโอ ● เรียนรูเทคโนโลยีใหมๆ: หลักสูตรการฝกอบรม ออนไลน (e-learning) และเอกสารการศึกษาดวย ตนเองเกี่ยวกับเทคโนโลยีของผลิตภัณฑที่ทันสมัย ที่สุด นอกจากนี้ยังเขาถึงคุณลักษณะขั้นสูงบางอยาง ได ● เพิ่มเติมขอคิดเห็นลงในเอกสารตางๆ: แสดงขอติชม แนะนําตอการใหบริการของวาลีโอ เพื่อปรับปรุงอยาง ตอเนื่อง ● กรอกขอมูลการประเมินผล: แสดงขอคิดเห็นถึงความ พึงพอใจของตนเอง ● แสดงความคิดเห็น: แลกเปลี่ยนประสบการณกับผูใช คนอื่น

เปนโปรแกรมบนเว็บที่พัฒนาขึ้นมาโดยเฉพาะสําหรับ ศูนยบริการซอมบํารุงผูจัดจําหนายชิ้นสวนอะไหล ยานยนต และผูฝกสอนดานเทคนิค Valeo TechAssist สามารถใชงานไดตลอดเวลา มีทั้งหมด 10 ภาษา เพียงแคเชื่อมตอไปยังเว็บไซต www.valeo-techassist.com Valeo TechAssist ไมไดเปนเพียงฐานขอมูลทางเทคนิค เทานั้น แตยังเปนเวทีการเรียนรูและแลกเปลี่ยนขอมูล ตางๆ เกี่ยวกับรถยนตนั่งสวนบุคคลและกลุมผลิตภัณฑ ทุกชนิดของวาลีโอ ขอมูลใน Valeo TechAssist ประกอบดวยขอมูลหลัก 4 ดาน ดังนี้ 1. ข อมูลผลิตภัณฑ  2. ความชวยเหลือด านเทคนิค 3. เครื่องมือสําหรับศูนย บริการซอมบํารุง 4. การ ฝก อบรมด านเทคนิค

6

4 ฟลายวีลเปนอุปกรณเชิงกลที่หมุนโดยอาศัยแรงเฉื่อย ของนํา้หนัก ซึ่งใชเปนอุปกรณสะสมกําลังในการหมุน ฟลายวีลจะติดตั้งในรถยนตที่มีเครื่องยนตเผาไหม ภายใน เพื่อใหเกิดความเฉื่อยสําหรับการหมุน โดยทั่วไปฟลายวีลจะใชงานกับเครื่องยนตแกสโซลีน ซึ่งทําจากเหล็กหลอเปนชิ้นเดียวกัน และเชื่อมติดกับ เพลาขอเหวี่ยง ดานหนึ่งจะถูกทําใหมีพื้นผิวแรงเสียด ทาน ฟลายวีลชนิดนี้มักจะติดตั้งกับคลัตชที่มีสปริงลด แรงสั่นสะเทือนที่แผนคลัตชเพื่อใหคลัตชสามารถ ทํางานไดอยางสมบูรณ ● ชวยใหเกิดการตัดตอกําลังระหวางเครื่องยนตและ ชุดเกียร ● สงแรงบิดทั้งหมดของเครื่องยนตผานไปยังระบบสง กําลัง ● กระจายความรอนที่เกิดขึ้นในบริเวณที่เกิดความ เสียดทาน ● ลดแรงสั่นสะเทือนระหวางเครื่องยนตและชุดเกียร ● ชวยใหเครื่องยนตไมสะดุดขณะสตารท ● ชวยใหการขับขี่และการควบคุมเปนไปโดยงาย ● เปลี่ยนเกียรไดอยางนุมนวล

เครื่องยนตสมัยใหมในปจจุบันจะมีแรงบิดที่สูงขึ้นที่รอบ เครื่องยนตตําดังนั้นแรงบิดสูงสุดของเครื่องยนตที่สง ออกมาจึงเพิ่มขึ้น ขณะเดียวกันก็เกิดเสียงรบกวนและ แรงสั่นสะเทือนมากขึ้นดวยเชนกัน การนําสปริงตัวหนวงจากในแผนคลัตชทั่วไปมาติดตั้ง ในฟลายวีลแบบสองชั้น ทําให D.M.F สามารถดูดซับ แรงสั่นสะเทือนที่เกิดจากแรงบิดของเครื่องยนตไปยัง ชุดเกียรได และยังลดภาระของชุดสงกําลังดวยสปริง ที่มีขนาดใหญขึ้นใน D.M.F จึงเหมาะตอการดูดซับแรง สั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นจากเครื่องยนตมากกวา (ซึ่งจําเปน อยางยิ่งตอเครื่องยนตดีเซลเทอรโบ) D.M.F ชวยใหขับขี่ ไดดวยความเร็วเครื่องยนตที่ตําลง ชวยใหประสิทธิภาพ ของเครื่องยนตเพิ่มขึ้น ดังนั้นจึงประหยัดนํ้ามันเชื้อ เพลิงและลดกาซคารบอนไดออกไซด รวมถึงลดแรง สั่นสะเทือนที่ทําใหเกิด “เกียรหอน” หรือ “เสียง รบกวนจากตัวถัง” วาลีโอเริ่มผลิต D.M.F. ตั้งแตทศวรรษป 1980 เปนตน มาอยางตอเนื่องเพื่อตอบสนองตอความตองการของผู ผลิตรถยนตจํานวนมากวาลีโอถือเปนผูกําหนดรูปแบบ สําคัญในการออกแบบและผลิต D.M.F ที่เหมาะสมตอ การใชงานดวยเทคโนโลยีระบบขับเคลื่อนที่มี ประสิทธิภาพ ทําไมตองฟลายวีล แบบสองชั้น (D.M.F) ?่่

ขณะตอกําลัง

ขณะตัดกําลัง

การตานทานของฟลายวีลจะเปลี่ยนความเร็วที่เกิดขึ้น ซึ่งชวยใหเพลาหมุนไดคงที่

7

5

สวนประกอบ ของฟลายวีล แบบสองชั้น

D.M.F มีสวนประกอบสําคัญ 2 ชุด คือชุดสรางแรง เฉื่อยและฟลายวีล ซึ่งเปนอิสระตอกันการออกแบบได แยกแรงเฉื่อยออกจากเครื่องยนตเพื่อคงคาเสียงหอน ของระบบขับเคลื่อนใหตํ่ากวาความเร็วรอบเดินเบาของ เครื่องยนต ฉะนั้นจึงไมมีเสียงเกียรหอนเกิดขึ้นจากชุดสงกําลังเมื่อ รถยนตอยูในระยะความเร็วปกติ จึงชวยใหผูขับขี่รถยนต รูสึกสบายยิ่งขึ้น

เฟองสตารท ฟลายวีลสวนที่หนึ่ง

สปริงโคง & ตัวรองสปริง

จานขับ

ฝาครอบ ฟลายวีล สวนที่สอง

ตลับลูกปน

แหวนรอง

8 ฟลายวีลแบบสองชั้นจะติดตั้งเขากับเพลาขอเหวี่ยงของเครื่องยนต และเชื่อมติดกับคลัตชและชุดสงกําลัง

5.1 ชุดความเฉื่อยสวนที่หนึ่ง (แผน) ฟลายวีลสวนที่หนึ่ง จะถูกยึดดวยสลักเกลียวติดกับเพลาขอเหวี่ยงของ เครื่องยนตฟลายวีลสวนที่หนึ่งเปนสวนประกอบที่ป ม ขึ้นจากเหล็กกลา บางครั้งอาจผลิตจากเหล็กหลอเฟอง วงแหวนถูกป มใหติดกับฟลายวีลเพื่อทํางานรวมกับ มอเตอรสตารทของเครื่องยนต

ฟลายวีลสวนที่หนึ่งจะติดสลักเกลียวเขากับเพลาขอ เหวี่ยงโดยตรง และมีสปริงตัวหนวงติดตั้งอยูภายใน สวนฟลายวีลสวนที่สองจะติดตั้งเขากับหวีคลัตชทั่วไป และจานคลัตชชนิดแข็งที่มีความเฉื่อยตํ่ากวา และชวย ใหเปลี่ยนเกียรไดดียิ่งขึ้น จะมีสปริงโคงขนาดยาว 2 ตัว ติดตั้งอยูระหวาง ฟลายวีลที่ดูดซับแรงสั่นสะเทือนจากเครื่องยนต ประโยชนสําคัญคือเกิดความหนวงเชิงมุมมากกวา จึงชวยใหกรองแรงสั่นสะเทือนไดมีประสิทธิภาพสูงสุด แผนฝาครอบจะถูกเชื่อมติดกับฟลายวีลสวนที่หนึ่ง เพื่อทําใหเกิดชองสําหรับเติมจาระบีที่มีแรงเสียดทาน ตําลงไป ซึ่งชวยใหสปริงเคลื่อนที่อยางไหลลื่น ฟลายวีลสวนที่สองจะผลิตจากเหล็กหลอชนิดพิเศษที่ ตานทานความรอนไดสูงขณะคลัตชทํางาน เครñองยนต ชุดเกียร

ชุดคลัตช่

ฟลายวีลแบบสองชั้น ฟลายวีลสวนที่หนึ่ง

ฟลายวีลสวนที่สอง

9

5. สวนประกอบของฟลายวีล แบบสองชั้น

แรงบิด ( Nm )

300 250 200 150 100 50 0

สปริงและตัวรองสปริง สปริงโคงทําจากโลหะคุณภาพสูงเพื่อใหสามารถตานทาน แรงกดมหาศาลที่เกิดขึ้นระหวางการกดเพื่อดูดซับแรง สั่นสะเทือนตัวรองสปริง 2 ชิ้น จะดูดซับแรงจํานวนมาก ที่สงมาจากสปริงโคง ซึ่งตัวนําสปริงดังกลาวจะติดตั้ง ในฟลายวีลสวนที่หนึ่งการใสจาระบีชนิดพิเศษลงไป จะชวยลดความรอนที่เกิดขึ้นจากการทํางานและลดแรง เสียดทานที่เกิดขึ้นระหวางสปริงและตัวรองสปริงใหลด นอยลงได D.M.F. ชนิดโคง ประกอบดวยชุดสปริงโคง 2 ชุด แตละ ชุดจะมีสปริงทั้งดานนอกและดานใน D.M.F อาจมีระดับ ของสปริง 1 หรือ 2 ระดับก็ได (สปริงดานนอกและดาน ในอาจมีความยาวเทากันหรือตางกันก็ได) สปริง 2 ระดับ จะทําใหเกิดความโคง 2 ระดับ โดยมีความแข็งและ ระยะเชิงมุมของฟลายวีลสวนที่สองแตกตางกัน ซึ่งชวย ใหสตารทเครื่องยนตไดงายยิ่งขึ้น

0

5 10 15 20 25 30 35 40 45 50 55 60 65

ระยะเชิงมุม (°)

การสงผานแรงบิดของ D.M.F. ที่มีสปริงโคง 1 ระดับ

แรงบิด ( Nm )

300 250 200 150 100 50 0

0

5 10 15 20 25 30 35 40 45 50 55 60 65

ระยะเชิงมุม (°)

การสงผานแรงบิดของ D.M.F. ที่มีสปริงโคง 2 ระดับ

แผนขับ แผนขับจะติดตั้งบนฟลายวีลสวนที่สองและจะสงผาน แรงบิดของสปริงไปยังฟลายวีลสวนที่สองแผนขับจะเปน เหล็กกลาที่ป มขึ้นรูปและมีความแข็งแรงเพื่อใหตานทาน แรงเชิงกลไดดี ใน D.M.F. ที่มีสปริงภายใน แผนขับจะประกอบดวยสปริง ตรงจํานวนหนึ่งซึ่งชวยใหกรองแรงสั่นสะเทือนไดดียิ่งขึ้น

สปริงโคง 2 ระดับ

10

ฝาครอบ ฝาครอบจะเชื่อมติดกับฟลายวีลสวนที่หนึ่งเพื่อปดชอง ซึ่งมีสปริงโคง ตัวนําสปริง และจาระบีบรรจุอยูดานใน

ตลับลูกปนหรือปลอก ตลับลูกปนหรือปลอกจะทําหนาที่ประสานระหวางชุด ความเฉื่อย 2 ชุด ในระหวางการเกิดการงอเชิงมุม

แหวนเสียดทาน ในระหวางที่เครื่องยนตเริ่มทํางานจะเกิดระดับการ เปลี่ยนแปลงทิศทางอยางมากระหวางชุดความเฉื่อย 2 ชุดเพื่อจํากัดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น และให เครื่องยนตทํางานไดมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นควรใสแหวน เสียดทานเขาไปดวย ซึ่งแหวนดังกลาวจะไมทํางานใน ระหวางโหมดการขับขี่

5.2 ชุดความเฉื่อยสวนที่สอง (แผน) ฟลายวีลสวนที่สองเปนสวนประกอบที่ผลิตจาก เหล็กกลา ดานหนึ่งจะตองสัมผัสกับแผนคลัตช ฟลายวีลสวนที่สองจะสงแรงบิดของเครื่องยนตไปยัง คลัตช ชุดเกียร และลอ

11

6 การออกแบบ

ฟลายวีลแบบสองชั้น ความเร็วของเครื่องยนตจะไมคงที่ในระหวางระยะการ ทํางาน จึงทําใหเกิดแรงสั่นสะเทือนขึ้น ซึ่งหากแรงสั่น สะเทือนดังกลาวเขาไปในชุดเกียร จะทําใหเฟองตางๆ ปะทะกัน และทําใหชุดเกียรเกิดเสียงดังขึ้น สรางความ รําคาญใหกับผูขับขี่ได แผนคลัตชแบบทั่วไปจะกรอง เสียงรบกวนดังกลาวได เครื่องยนตสมัยใหมจะวิ่งดวยความเร็วรอบเดินเบาตํ่า กวาแตจะมีแรงบิดสูงกวา จึงทําใหเกิดแรงสั่นสะเทือน มากกวา ดังนั้นจึงจําเปนตองปรับปรุงการดูดซับแรงสั่น สะเทือนใหดีขึ้น หรือลดจุดที่การดูดซับแรงสั่นสะเทือน เริ่มทํางาน โดยไมคํานึงถึงขนาดของแรงบิด เมื่อรถยนตเงียบมากขึ้นตัวถังมีนํ้าหนักเบาและแกรง มากขึ้น ระดับของแรงสั่นสะเทือนจึงสูงขึ้นเชนกัน การออกแบบ D.M.F. และการกระจายนํ้าหนักของแรง เฉื่อยทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงแรงสั่นสะเทือนภายใต ความเร็วของรอบเดินเบาของเครื่องยนต

12

คา T ใหนอยกวา 1 ในชวงของการขับขี่ ความถี่ เรโซแนนซเปนฟงกชั่นของความแข็งตึงและเปน ฟงกชั่นยอนกลับของความเฉื่อย f ~ √ [ความแข็งตึง/ความเฉื่อย] ความแข็งตึง คือ ความตานทานของวัตถุที่ยืดหยุนตอ การเปลี่ยนแปลงรูปรางที่เกิดขึ้นจากการกระทําของแรง เมื่อสปริงยืดหรือหดจะเกิดแรงตานใหสปริงเกิดดุลยภาพ เชนเดิม ความเฉื่อยหรือโมเมนตของความเฉื่อย คือ ความตานทานของวัตถุในการเปลี่ยนแปลงสภาพการ หมุนของวัตถุนั้นๆ ฟลายวีลและชุดคลัตช จึงผลิตขึ้น จากสวนประกอบที่หมุนได ความเฉื่อยของสวนประกอบ แตละชิ้น จะกําหนดสภาพการทํางานของชิ้นสวนเพื่อใหเรงหรือลด ความเร็ว ผลก็คือ ทําใหสวนประกอบแตละชิ้นสามารถ ตอบสนองตอการทํางานของแปนเหยียบคลัตชไดอยาง รวดเร็ว หากความแข็งตึงตํ่าและความเฉื่อยสูง ความถี่จะตํ่าลง ดังเชนใน D.M.F. และในทางตรงกันขาม หากความแข็งตึงสูงและความเฉื่อยตํา ความถี่จะสูงขึ้น ดังเชนในจานชนิดตัวหนวง 

เรโซแนนซทางกลศาสตร คือ แนวโนมของระบบกลไก ในการตอบสนองแอมพลิจูดที่สูงขึ้นเมñอความถี่ของการ แกวงตรงกับความถี่ปกติของแรงสั่นสะเทือนในระบบ (ความถี่พองหรือความถี่เรโซแนนซของระบบ):

ระดับแรงสั่นสะเทือน ที่ชุดเกียร T= <1 ระดับแรงสั่นสะเทือน ที่เครñองยนต

การสงผาน T

1

อัตราเร็วรอบเดินเบา ของเครñองยนต

ความเร็วของ เครñองยนต รอบตอนาที

เรโซแนนซของชุด คลัตชที่ไมมี D.M.F.

เรโซแนนซของชุด คลัตชที่มี D.M.F.

การสงผาน (T) คือ อัตราของแรงสั่นสะเทือนออก (ชุดเกียร) / แรงสั่นสะเทือนเขา (เครñองยนต) เมñอแรง สั่นสะเทือนจากชุดเกียรมากกวา แรงสั่นสะเทือนจาก เครñองยนต (การสงผาน > 1) เกิดการขยายตัว ซึ่งทําใหชุดเกียรเกิดเสียงดังรบกวนเปาหมายที่มี D.M.F. คือการเปลี่ยนความถี่เรโซแนนซของชุดขับ เพลาภายใตอัตราเร็วเดินเบาของเครñองยนต เพñอคง

13

7 ข อดีที่โดดเดนของ ฟลายวีลแบบสองชั้น

7.1 ออกแบบเฉพาะสําหรับการใชงาน ในยานยนตแตละประเภท ● ปรับเขากับความแข็งตึงที่มีระดับตํ่า เพื่อลดเสียง รบกวนใหมากที่สุด ● เพิ่มประสิทธิภาพในการลด “เสียงเกียรหอน” หรือ “เสียงรบกวนจากตัวถัง” ● ใชงานกับเครื่องยนตที่มีแรงบิดตั้งแต 200 Nm ถึง 500 Nm 7.2 ชวยใหการขับขี่สบายยิ่งขึ้น ● การเปลี่ยนเกียรไดงายขึ้นและกลไกการเปลี่ยน เกียรทนทานยิ่งขึ้น โดยลดความเฉื่อยของแผนคลัตช ● ลดการสิ้นเปลืองนํ้ามันเชื้อเพลิงเนื่องจากขับขี่ดวย ความเร็วตํ่ากวา จึงลดเสียงรบกวนไดดี 7.3 ออกแบบใหมีความทนทานสูง ● ใชขดลวดสปริงคุณภาพสูง และคุณภาพดีที่สุดใน ผลิตภัณฑกลุมเดียวกัน ● ตลับลูกปนและปลอกมีอายุการใชงานยาวนาน (ไมจําเปนตองบํารุงรักษา) ● ระบบหนวงความเสียดทานที่เพิ่มเขาไปจึงคงที่ ตลอดอายุการใชงาน

ฟลายวีลแบบสองชั้นจะใชแผนชวยแรงสองสวนและ สปริงยาวลดความถี่ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติของชุด เพลาขับในรถยนตใหนอยกวา 400 รอบตอนาที (RPM) ลักษณะดังกลาวถือเปนขอดีที่โดดเดนมากเมื่อ เปรียบเทียบกับระบบคลัตชทั่วไป ซึ่งจะมีความถี่ที่เกิด ขึ้นตามธรรมชาติจากชุดขับเพลาของรถยนต และโดย ทั่วไปจะมีชวงการขับเคลื่อนประมาณ 1500 – 2000 รอบตอนาที (RPM) ดังนั้น การกําจัดแรงสั่นสะเทือนจากเครื่องยนตโดยใช D.M.F. จึงเกิดขึ้นตลอดความเร็วของการขับขี่ ความ แข็งตึงระดับไมสูงมากนักของฟลายวีลแบบสองชั้น จะเกิดขึ้นเมื่อตัวหนวงออกจากแผนคลัตชไปติดตั้งไวใน ฟลายวีลซึ่งจะมีพื้นที่มากกวา นอกจากนี้แผนคลัตชที่มี นํ้าหนักนอยกวายังชวยใหเปลี่ยนเกียรไดงายดวย ฟลายวีลแบบสองชั้นของวาลีโอชวยลดแรงสั่นสะเทือน ที่รับรูได และลดเสียงรบกวนจากชุดเกียรไดอยางเห็น ผลชัดเจน ซึ่งแสดงใหเห็นความกาวหนาอยางมากในดานเทคโนโลยี การลดแรงสั่นสะเทือนของชุดสงกําลัง ความกาวหนานี้ มีความสําคัญอยางยิ่งเนื่องจากเครื่องยนตที่ประหยัด นํ้ามันเชื้อเพลิงซึ่งพัฒนาขึ้นในปจจุบันจะมีแรงบิดสูงกวา จึงมีแรงสั่นสะเทือนมากกวาโดยเฉพาะเมื่อมีความเร็วตํ่า

14

8 นวัตกรรมของ

เทคโนโลยีฟลายวีล แบบสองชั้น เครื่องยนตสมัยใหมจะมีแรงบิดที่สูงกวาขณะเดียวกันก็มี อัตราเร็วที่ตํ่ากวา จึงประหยัดนํ้ามันเชื้อเพลิงเครื่องยนต ดังกลาวจึงมีแรงสั่นสะเทือนเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ผูผลิต ยานยนตตองการรถยนตที่เงียบสนิทไมมีเสียงรบกวน เพื่อใหขับขี่ไดสบายยิ่งขึ้น จึงจําเปนตองมีการดูดซับแรง สั่นสะเทือนที่มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งใน ชุดสงกําลังของรถยนตขับเคลื่อนลอหลัง (Rear Wheel Drive: R.W.D) ที่มีแรงบิดเครื่องยนตสูงกวา 400 Nm วาลีโอจึงจัดทําแผนงานดานเทคโนโลยีเพื่อแกปญหา เชิงนวัตกรรม ดังนี้

● D.M.F พรอมสปริงโคงภายใน ● D.M.F พรอมสปริงตรงภายใน ● D.M.F แบบยืดหยุน

8.1 D.M.F พรอมสปริงโคงภายใน เมื่อเครื่องยนตมีความเร็วรอบสูง ทําใหเกิดแรงเหวี่ยง ไปดันสปริงใหปะทะกับตัวรองสปริง จึงเกิดแรง เสียดทานขึ้น เนื่องจากเกิดแรงเสียดทานดังกลาว จํานวนขดของสปริงที่เกิดแรงจึงลดลง ความแข็ง ตึงของสปริงที่มีพลังจึงเพิ่มขึ้นและทําใหลดแรงสั่น สะเทือนลง

15

8. นวัตกรรมของเทคโนโลยี ฟลายวีลแบบสองชั้น

2,000 รอบตอนาที

4,000 รอบตอนาที

พื้นที่รับแรงสั่นสะเทือน

พื้นที่รับแรงสั่นสะเทือน

สปริงโคง

สปริงโคง

ใน D.M.F. ที่มีสปริงดานในสปริงตรงขนาดเล็กจะเชื่อม ติดกับแผนขับดวยความไวตอภาระแรงเหวี่ยงที่ลดลง สปริงดังกลาวจึงดูดซับแรงสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นได ในการใชงานที่จําเปนอยางยิ่งโดยเฉพาะในรถยนตที่ขับ เคลื่อนดวยลอหลัง จําเปนตองมีระดับการสั่นสะเทือน ที่ตํ่ามาก เทคโนโลยีสปริงตรงภายในของวาลีโอ (L.T.D) ซึ่งพัฒนาขึ้นมาเพื่อสรางลดแรงสั่นสะเทือนในชุดสง กําลัง โดยจะเชื่อมเขากับ D.M.F. เพื่อลดแรงสั่นสะเทือน ดังกลาวใหลดลง

16

8.2 D.M.F พรอมสปริงตรงภายใน (L.T.D. D.M.F) D.M.F พรอมสปริงตรงภายในของวาลีโอชวยใหเกิด เสียงดังรบกวนนอยลง และลดแรงสั่นสะเทือน L.T.D. D.M.F จึงลดแรงสั่นสะเทือนที่รับรูไดและลด เสียงรบกวนจากเครื่องยนตไดอยางเห็นผลชัดเจน ลักษณะดังกลาวแสดงใหเห็นถึงกาวที่สําคัญของ เทคโนโลยีการดูดซับแรงสั่นสะเทือนของชุดสงกําลัง ความกาวหนานี้มีความสําคัญอยางยิ่ง เนื่องจาก เครื่องยนตรุนใหมที่ประหยัดนํ้ามันเชื้อเพลิงที่พัฒนา ขึ้นในปจจุบันจะมีแรงบิดสูงกวา และเกิดแรงสั่น สะเทือนมากขึ้น โดยเฉพาะเมื่อมีความเร็วตํ่า L.T.D. D.M.F. จึงดูดซับแรงสั่นสะเทือนที่เกิดจากแรงบิดของ เครื่องยนต ทําใหผูขับขี่รูสึกสบายยิ่งขึ้น อุปกรณดูดซับแรงสั่นสะเทือนขนาดกะทัดรัด 2 ชุดนี้ ชวยให L.T.D. D.M.F. ทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ มากขึ้น และเปนสวนประกอบสําคัญของเครื่องยนต ทั่วไปซึ่งมีประสิทธิภาพสูงในอนาคตและในชุดสงกําลัง ประเภทไฮบริดซึ่งมีขอจํากัดในการติดตั้งที่เขมงวดมาก

จุดสําคัญของเทคโนโลยี L.T.D.

พื้นที่รับแรงสั่นสะเทือน

สปริง ลดแรงสั่น สะเทือน

สปริงลดแรงสั่นสะเทือน

แผนคลัตช หมายเลข 1

ดานชุดเกียร

แหวนฮิสเทอรีซีส

แผนคลัตช หมายเลข 2

สปริง

แผนรอง

ดานเครื่องยนต

17

8 นวัตกรรมของเทคโนโลยี ฟลายวีลแบบสองชั้น

เทคโนโลยี L.T.D. จะประกอบไปดวยชุดสปริง 2 ชุดๆ ละ 3 ตัว ซึ่งทํางานรวมกันโดยมีแผนรองเปนตัวปรับ จังหวะใหตรงกันสปริงตรงจะไวตอภาระแรงเหวี่ยงนอย กวาสปริงโคงลักษณะดังกลาวจึงทําใหเกิดแรงเสียดทาน นอยลงการดูดซับแรงสั่นสะเทือนจึงดีกวาการใชสปริง โคง การรวมกันของ L.T.D. เขากับฟลายวีล D.M.F. พรอมสปริงตรงภายใน นอกจากเทคโนโลยีฟลายวีลแบบสองชั้นที่รูจักกันแลว L.T.D. D.M.F. ยังไดรวมสปริงตรงภายในที่วาลีโอไดพัฒนา ขึ้นมาสําหรับทอรกคอนเวอรเตอรในเกียรกําลังอัตโนมัติ การรวมอุปกรณดังกลาวเขาดวยกันชวยใหสามารถดูดซับ แรงสั่นสะเทือนไดอยางมีประสิทธิภาพสูงสุดโดยเฉพาะ ในระหวางการสตารทเครื่องยนต เนื่องจากมุมสูงสุดจะ เทากับ 80° และระดับการทํางานที่ยอดเยี่ยมในระบบ เครื่องยนตทุกประเภท ฟลายวีลแบบสองชั้นพรอมสปริงตรงภายในของวาลีโอชวย ใหเกิดความสบายยิ่งขึ้นในเครื่องยนตที่มีประสิทธิภาพใน การประหยัดนํ้ามันเชื้อเพลิงสูงสุดระดับ NVH (เสียง รบกวน-แรงสั่นสะเทือน-ความกระดาง) และความงายใน การเปลี่ยนเกียรทําใหเกิดความสบายในการขับขี่ สําหรับ เครื่องยนตที่มีแนวโนมงายตอการเกิดแรงสั่นสะเทือน

L.T.D. D.M.F.

จากกราฟจะเห็นลักษณะการทํางานของ L.T.D. D.M.F. และการเปรียบเทียบ L.T.D. ที่ใชสปริงโคง การนําสปริง โคงและเทคโนโลยีสปริงตรงภายในมารวมกันทําให การสตารทเครื่องยนต (สปริงโคง) และการดูดซับแรง สั่นสะเทือน (L.T.D.) สูงสุดของเครื่องยนตเกิดขึ้นได อยางมีประสิทธิภาพ

18

8.3 ฟลายวีลแบบยืดหยุน เพลาขอเหวี่ยงจะรับแรงมหาศาลเมื่อเกิดการเผาไหม ภายในกระบอกสูบเครื่องยนต ลักษณะดังกลาวทําใหแกน เพลาขอเหวี่ยงเอียงไปมาบนฟลายวีลซึ่งเชื่อมติดกับ ปลายของเพลาขอเหวี่ยงแรงกดจะเกิดขึ้นระหวางตลับ ลูกปนและเพลาขอเหวี่ยงจนเกิดแรงสั่นสะเทือนขึ้นหาก ไมมีการกําจัดแรงสั่นสะเทือนดังกลาวผลก็คือ จะเกิดเสียง รบกวนขึ้นจากเครื่องยนต การสั่นสะเทือนตามแกนของ ฟลายวีลและแรงสั่นสะเทือนที่เพิ่มขึ้นบนแปนเหยียบ คลัตช

ระบบที่มีฟลายวีลแบบยืดหยุน

ระบบที่ไมมีฟลายวีลแบบยืดหยุน

ฟลายวีลจะดูดซับแรงสั่นสะเทือนจากแกนที่สงผานจาก เพลาขอเหวี่ยงของเครื่องยนต ซึ่งจะเกิดขึ้นไดโดยการ ติดตั้งแผนลดแรงสั่นสะเทือนตรงดานเครื่องยนตของ แผนฟลายวีลการเสียรูปของเพลาขอเหวี่ยงจะยังคงอยู แตจะไมสงผานไปยังฟลายวีลเนื่องจากมีแผนลดแรงสั่น สะเทือนติดตั้งอยู ● เสียงรบกวนจากเครื่องยนตลดลงที่ความเร็วรอบ เครื่องยนตสูง ● แรงกดโคงงอของเพลาขอเหวี่ยงลดลง ● ระดับแรงสั่นสะเทือนบนแปนเหยียบคลัตชลดลง

19

8 นวัตกรรมของเทคโนโลยี ฟลายวีลแบบสองชั้น

แผนลดแรงสั่นสะเทือนนี้จะพบทั้งในฟลายวีลชนิด ธรรมดาและฟลายวีลแบบสองชั้นแผนลดแรงสั่น สะเทือนจะติดตั้งเขากับฟลายวีลสวนที่หนึ่งและดุม หลายระดับจะลดแรงกดที่เกิดขึ้นในสลักเกลียวติดตั้ง เพลาขอเหวี่ยง ฟลายวีลแบบสองชั้นพรอมสปริงตรงภายในแผนลด แรงสั่นสะเทือน

แผนลดแรงสั่นสะเทือน

สปริงโคง & ตัวรองสปริง

ชุดสปริงตรงภายใน

ฝาครอบ

เฟองสตารท

ฟลายวีล สวนที่สอง

ฟลายวีลสวนที่หนึ่ง

ฟลายวีลแบบสองชั้นพรอมสปริงตรงภายในพรอมแผนลดแรงสั่นสะเทือน

20

9 การวิเคราะห และ

วินิจฉัยความเสียหาย ที่เกิดขึ้นกับฟลายวีล แบบสองชั้น ควรตรวจสอบ D.M.F. เมื่อเปลี่ยนคลัตชและเปลี่ยน D.M.F. หากจําเปน เนื่องจาก D.M.F. ที่สึกหรือชํารุดแลว อาจทําใหคลัตชที่ติดตั้งใหมเสียหายได การทดสอบการทํางานทั้งหมดจะสามารถดําเนินการได เมื่อติดตั้งอุปกรณทดสอบไดอยางถูกตองแลวเทานั้น การตรวจสอบดวยสายตาและการวัดคาจะสามารถตัดสิน ไดวาควรเปลี่ยนฟลายวีลแบบสองสวนของวาลีโอหรือไม หากไมแนใจ ควรเปลี่ยน D.M.F. พรอมกับคลัตช เนื่องจากไมสามารถแกไขพื้นผิวดานหนาที่เกิดความ เสียดทานของฟลายวีลสวนที่สองได หาก D.M.F. ตกหรือหลน ไมควรนํามาติดตั้งเด็ดขาด กอนการติดตั้ง ● ตรวจสอบซีลกันรั่วของเพลาวามีนํ้ามันรั่วไหลออกมา หรือไม หากมี ควรเปลี่ยนทันที ● ตรวจสอบวาไดวางตําแหนงสลักนําไดถูกตองแลว ● ทําความสะอาดพื้นผิวที่มีการสัมผัสกันดวยผาชุบ นํ้าบิดหมาด หากตองการขอมูลของฟลายวีลแบบสองชั้นเพิ่มเติม คนหาไดที่ www.valeo-techassist.com ● ตรวจสอบเฟองสตารทวาชํารุดหรือไม ● ควรใชสลักเกลียวติดตั้งชุดใหมเสมอ

21

9 การวิเคราะห และวินิจฉัย ความเสียหายที่เกิดขึ้นกับฟลายวีล แบบสองชั้น

9.1 การตรวจสอบดวยสายตา ตรวจสอบดวยสายตาเมื่อติดตั้งฟลายวีลเขากับ เครื่องยนตแลวในกรณีนี้ ควรจัดใหมีแสงสวางเพียงพอตอการดําเนินการตรวจ สอบดังกลาว 9.1.1 คราบจาระบีและนํ้ามัน ไมมีคราบจาระบีหรือนํ้ามันบนพื้นผิวที่เกิดความ เสียดทานบนฟลายวีลสวนที่สอง หากตรวจพบรอยหรือคราบนํ้ามันและจาระบีควรเปลี่ยน D.M.F. ทันที (ตั้งแตฟลายวีลสวนที่หนึ่ง...) หากพบคราบจาระบีจํานวนไมมากที่พื้นผิวดานเครื่องยนต ของฟลายวีล จะไมมีผลตอการทํางานของฟลายวีล 9.1.2 เฟองวงแหวนสตารทสึก หรือชํารุด หากเฟองวงแหวนสตารทของฟลายวีลแบบสองชั้นสึก หรือชํารุด จะตองดําเนินการเปลี่ยนโดยทันที หากเฟองสตารทชํารุดเสียหายมาก ควรตรวจสอบ มอเตอรสตารทดวย เนื่องจากอาจชํารุดไปดวยได

22

9.1.3 ภาระความรอนสูง ความเสียดทานที่เกิดขึ้นเมื่อเกิดการลื่นของจานคลัตช อาจทําใหเกิดปญหาจากภาระความรอนสูงได ซึ่งอาจ เปนอันตรายได เนื่องจากแรงเหวี่ยงเขาศูนยกลางของ ชุดจานคลัตชที่เกิดขึ้น และมีความเสี่ยงที่ฟลายวีล สวนที่สองจะแตกหักได (รวมถึงแผนกดคลัตชที่เขากัน ของกลไกลการทํางาน) สัญญาณของภาระความรอน สูงไดแก ● พื้นผิวที่เกิดความเสียดทานมีจุดความรอนสีนํ้าเงิน ● บริเวณที่ติดตั้งฝาครอบมีสีนํ้าเงิน ● บริเวณหมุดยึดมีสีนํ้าเงิน

นอกจากการตรวจสอบเฟองสตารทและการตรวจสอบ ภาระความรอนแลวควรตรวจสอบสภาพของฟลายวีล ชุดถอดประกอบ และฟลายวีลสวนที่สองลักษณะดังตอ ไปนี้แสดงวาถึงกําหนดเวลาที่ตองเปลี่ยน D.M.F. แลว ● เกิดรอยราวที่พื้นผิวที่เกิดความเสียดทาน ● เกิดจุดสีนํ้าเงินจํานวนมากและมีจาระบีบนพื้นผิว ดานนอก ● ตลับลูกปนชํารุด ● แหวนฮิสเทอรีซิสที่ทําจากพลาสติกชํารุด (ตรวจสอบชองสลักเกลียวติดตั้งดวยสายตา) ● ฟลายวีลสวนที่หนึ่งมีรอยขีดขวน ● ฟนเฟองเซนเซอรชํารุด ● เกิดเสียงรบกวน

พื้นผิวที่เกิด ความเสียดทาน พื้นที่และชองติดตั้ง

ปลอกหรือตลับลูกปน บริเวณชองติดตั้ง เพลาขอเหวี่ยง หมุดยึด

23

9 การวิเคราะห และวินิจฉัย ความเสียหายที่เกิดขึ้นกับฟลายวีล แบบสองชั้น

9.2 การวัดคา “ความเอียง” การวัดคานี้จะวัดระยะหางระหวางสวนที่หนึ่งและสวนที่ สอง หากสวนที่สองของ D.M.F. เคลื่อนที่ไดอยางอิสระ มากเกินไป อาจเปนสัญญาณที่แสดงวาปลอกชํารุด ขั้นตอนการวัดคาเปนดังนี้ 1 วางฟลายวีลแบบสองสวนลงบนพื้นที่เรียบเสมอกัน โดยหงายสวนที่สองขึ้น 2 วางอุปกรณเทียบความยาวบนพื้นผิวที่เกิดความ เสียดทานดานนอกสุด (ไมใชบนพื้นผิวที่เกิดความเสียดทาน แตบนเฟอง ดานนอก) 3 กดดานตรงกันขามกับสวนที่สองของฟลายวีลสวนที่ สองสัมผัสกับฟลายวีลสวนที่หนึ่ง (3) 4 ตั้งคาอุปกรณใหมอีกครั้งหนึ่ง 5 กดดานที่วางอุปกรณเทียบความยาว แลวอานคาที่ วัดได (จากปลายสุดสูปลายสุด) (5) 6 ตรวจสอบกับคาสูงสุดที่ยอมรับไดหากเกินเกณฑ สูงสุดที่กําหนด ใหเปลี่ยน D.M.F. (เกณฑสูงสุดที่ ยอมรับไดของ D.M.F. ที่มีปลอก เทากับ 2.6 มม. และเกณฑสูงสุดที่ยอมรับไดของ D.M.F. ที่ไมมีปลอก เทากับ 1.2 มม.) (6)

3

5

6

24

9.3 การวัดคามุมอิสระของ ฟลายวีลสวนที่สอง

มุมดังกลาวจะตรงกับการหมุนเชิงมุมโดยอิสระที่เกิดขึ้น ระหวางฟลายวีลสวนที่สอง และฟลายวีลสวนที่หนึ่งตรวจ สอบการหมุนโดยอิสระไดตามขั้นตอนตอไปนี้ 1 ใชแรงหมุนตามเข็มนาฬกาใหทํามุมกับฟลายวีลสวนที่ สองจนรูสึกวาสปริงเกิดแรง 2 ทําเครื่องหมายใหตรงกันระหวางฟลายวีลสวนที่หนึ่ง และสวนที่สอง 3 หมุนลอทวนเข็มนาฬกาจนรูสึกวาสปริงเกิดแรงระยะหาง 4 ระหวางเครื่องหมายทั้งสองจะตรงกับมุม J1 5 นับจํานวนฟนเฟองสตารทที่อยูระหวางเครื่องหมายทั้ง สองที่ทําไว มุมสูงสุดที่ยอมรับไดจะไมเกิน 15° ซึ่งจะมีฟนเฟอง ของเฟองสตารท (อะไหลแทติดรถของวาลีโอ) สูงสุด 6 ซี่ การดําเนินการดังกลาวยังสามารถนําไปใชกับฟลายวีล แบบสองสวนที่ติดตั้งกับเครื่องยนตได ● หมุนฟลายวีลทวนเข็มนาฬกาจนรูสึกวาสปริงเกิดแรง ระยะหางระหวางเครื่องหมายทั้งสองจะตรงกับมุมที่ หมุนไดโดยอิสระ ● นับจํานวนซี่ของฟนเฟองสตารทที่อยูระหวางเครื่องหมาย ทั้งสอง

25

10 การวิเคราะห 

อาการเสียของฟลายวีล แบบสองชั้น สิ่งที่สังเกตเห็น D.M.F. ไมทํางาน เกิดเสียงดังรบกวน ปญหา ฟลายวีลทั้งสองดานมีสีนํ้าเงินมวงกะดํากะดาง สาเหตุ ภาระความรอนสูง สิ่งที่สังเกตเห็น เกิดเสียงดังรบกวน หรือมอเตอรสตารทชํารุด ปญหา ฟลายวีลสวนที่สองทําใหฟลายวีลสวนที่หนึ่งเกิดรอย

1

2

ขีดขวน สาเหตุ ปลอก/ตลับลูกปนของ D.M.F. ชํารุด

สิ่งที่สังเกตเห็น D.M.F. ไมทํางาน เกิดเสียงดังรบกวน ปญหา มีคราบจาระบี ฝาครอบกันรั่วหายไป หรือเกิดสีนํ้าตาล กะดํากะดาง เนื่องจากเกิดภาระหนักเกินไป สาเหตุ ภาระความรอนสูงเกินไป หรือกลไกเสียหาย/มีภาระ หนักเกินไป

3

26

สิ่งที่สังเกตเห็น เกิดเสียงดังรบกวนเมื่อสตารทเครื่องยนต ปญหา เฟองสตารท D.M.F สึกหรือแตกหักมาก สาเหตุ มอเตอรสตารทชํารุด สิ่งที่สังเกตเห็น D.M.F. ไมทํางาน ปญหา ตลับลูกปน D.M.F ชํารุด สาเหตุ เกิดการสึกหรอและ/หรือเกิดผลกระทบตอกลไก สิ่งที่สังเกตเห็น D.M.F. ไมทํางาน ปญหา มีคราบจาระบีจํานวนมากที่ดานหลังของฟลายวีลสวน ที่หนึ่ง สาเหตุ ภาระความรอนสูงเกินไป หรือกลไกเสียหาย/มีภาระ หนักเกินไป สิ่งที่สังเกตเห็น D.M.F. ทํางานผิดปกติ เกิดเสียงดังรบกวน ปญหา มีเศษไหมผาที่ถูกขูดออกมาอยูในชองระบายอากาศ สาเหตุ เกิดการลื่นและภาระความรอนสูง

4

5

6

7

27

สิ่งที่สังเกตเห็น D.M.F. ไมทํางาน ปญหา เกิดเสียงดังมากและไมมีการสงผานแรงบิด ฟลายวีล สวนที่สองติดขัดหรือหมุนไดรอบ 360° สาเหตุ เกิดความเสียหายตอกลไก สิ่งที่สังเกตเห็น เกิดเสียงดัง และเกิดแรงสั่นสะเทือน ปญหา ตุมนํ้าหนักหายไป (อาจมองเห็นจุดที่บัดกรีเชื่อมติดกัน) สาเหตุ เกิดผลกระทบตอกลไกบนตุมนํ้าหนัก สิ่งที่สังเกตเห็น เกิดเสียงดังรบกวน ปญหา ฟลายวีลสวนที่สองหมุนไดโดยอิสระเกินระยะที่เกิน กําหนดไว สาเหตุ สปริงไมทํางาน สิ่งที่สังเกตเห็น เกิดเสียงรบกวนบอยครั้ง และเปลี่ยนเกียรไดยาก ปญหา สลักหมุดพับงอ หรือติดตั้งไมถูกตอง สาเหตุ กลไกเสียหาย

8

9

10

11

สิ่งที่สังเกตเห็น D.M.F. ทํางานผิดปกติ ปญหา เกิดคราบของเหลวหรือคราบจาระบีหนืด สาเหตุ ฟลายวีลสวนที่หนึ่งชํารุด

12

28

11 คําถามที่ถามบอย – ทุกเรื่องของฟลายวีล “ขอจํากัดของเทคโนโลยี D.M.F . มีอะไรบาง (โดยขึ้นอยูกับชนิดของชุดเกียรและระบบการ ขับเคลื่อนลอหลัง)” แบบสองชั้นที่คุณอยากรู 

“ปรับแตง D.M.F. ไดหรือไม” ไมควรปรับแตงหรือกลึงผิวหนาของฟลายวีลแบบ สองชั้น เนื่องจากอาจมีผลตอสมดุลของฟลายวีลได ควร เปลี่ยนใหมทันที “ใชสลักเกลียวของรถยนตติดตั้ง D.M.F. ชุดใหม ไดหรือไม” ไมควรใชสลักเกลียว “ชุดเกา” ของรถยนต ควรใช สลักเกลียวชุดใหมทุกครั้งในการติดตั้ง D.M.F. เขากับ เพลาขอเหวี่ยงของเครื่องยนต “อายุการใชงานของ D.M.F. นานเทาใด และ เปลี่ยนเฉพาะชุดอุปกรณ และใช D.M.F. ชุด เดิมตอไปไดหรือไม” ตองตรวจสอบสภาพและการใชงานของ D.M.F. และหาก จําเปนก็ควรเปลี่ยน D.M.F. ซึ่งวาลีโอไดอธิบายวิธีการ วินิจฉัยงายๆไวในคูมือเลมนี้แลว ผูผลิตเครื่องมือบาง รายไดผลิตเครื่องมือสําหรับวินิจฉัย D.M.F. ไวจําหนาย ทั่วไป แตการวินิจฉัย D.M.F. ที่ถูกตองสมบูรณ ควร ดําเนินการในหองปฏิบัติการ โดยผูเชี่ยวชาญเทานั้นวาลี โอจึงแนะนําใหเปลี่ยน D.M.F. ทุกครั้งเมื่อเปลี่ยนชุด คลัตช เนื่องจากการเริ่มใชงานชุดคลัตชใหม อาจมีผล ให D.M.F. ไมทํางานได “ไมตองการซื้อ D.M.F. มีทางเลือกอื่นหรือไม” นอกจาก D.M.F. แลว วาลีโอยังมีกลุมผลิตภัณฑ KIT4P เปนอีกทางเลือกหนึ่งแทนการใชฟลายวีลแบบสองสวน ซึ่ง KIT4P จะประกอบดวยฟลายวีลชนิดแข็งและจานตัว หนวงเฉพาะซึ่งทําหนาที่คลายคลัตช สามารถคนหา ผลิตภัณฑ KIT4P สําหรับติดตั้งในรถยนตไดจาก แคตตาล็อกฉบับพิมพหรือไฟลแคตตาล็อกของวาลีโอได

ตามที่ไดกลาวไวในคูมือเลมนี้ เมื่อแรงบิดของเครื่องยนต ที่ถูกสงผานเพิ่มขึ้น ความจําเปนในการติดตั้ง D.M.F. ที่มี ศักยภาพก็ยอมมีมากขึ้นเชนกันซึ่ง D.M.F. จะสามารถใช งานไดอยางมีประสิทธิภาพสูงสุดจนถึงแรงบิด 400 Nm หากแรงบิดของเครื่องยนตสูงกวานี้โดยเฉพาะในรถยนต ขับเคลื่อนลอหลัง (R.W.D.) หรือรถที่มีเกียร 6 จําเปน ตองมี D.M.F. ที่ติดตั้งตัวหนวงภายในหรือติดตั้ง L.T.D. D.M.F. เพื่อให D.M.F. ทํางานไดถูกตองและมี ประสิทธิภาพ “สามารถติดตั้ง D.M.F. บนชุดเกียรที่มีถึง 6 เกียรไดหรือไม” ติดตั้งได แตทวาเกียร 6 อาจจะไวตอการเกิดเสียง รบกวนจึงจําเปนตองมีการดูดซับเสียงรบกวนที่ดีขึ้น จึง ควรใช D.M.F. ที่ติดตั้งตัวหนวงภายในและ L.T.D. D.M.F. เพื่อการใชงานดังกลาว “สามารถติดตั้ง D.M.F. ในรถยนตที่ขับเคลื่อน ลอหลังไดหรือไม” รถยนตที่ขับเคลื่อนลอหลัง (R.W.D.) จะมีแรงบิดของ เครื่องยนตที่สูงกวาจึงตองมีการสงผานแรงบิดที่ดีขึ้น ดวย ดังนั้นจึงควรติดตั้ง L.T.D. D.M.F. หรือใชงานดัง กลาว ซึ่งเปนโซลูชั่นหนึ่งของวาลีโอ “มอดูล D.M.F. คืออะไร” มอดูล D.M.F. เปนการรวมกันระหวาง D.M.F. และชุด คลัตชที่มี/หรือไมมี C.S.C มอดูล ระหวาง D.M.F. ของวาลีโอ ชวยใหการเปลี่ยนแปลงดังกลาวสมบูรณ แบบยิ่งขึ้น อุปกรณแยกสวนแตละชิ้นจะไมสามารถ เปลี่ยนกับคูแขงได แตการเปลี่ยนเปนชุดสามารถแทนที่ อุปกรณของคูแขงไดโดยไมเกิด ปญหายุงยากใดๆ

29

“ฟลายวีลแบบยืดหยุนคืออะไรจัดเปน D.M.F. หรือฟลายวีลชนิดธรรมดา” แผนลดแรงสั่นสะเทือนติดตั้งทั้งในฟลายวีลและ D.M.F. แผนลดแรงสั่นสะเทือนจะติดเขากับดานเครื่องยนตของ ฟลายวีลเพื่อทําหนาที่ดูดซับแรงสั่นสะเทือน โดยจะติด ตั้งเขากับฟลายวีลสวนที่หนึ่งของ D.M.F. “นําฟลายวีลทั่วไปมาเปลี่ยนแทนที่ฟลายวีล ยืดหยุนไดหรือไม” หากนําแผนลดแรงสั่นสะเทือนออกมา ความเครียดบน เพลาขอเหวี่ยงจะถูกสงผานไปยังฟลายวีลซึ่งจะทําใหเกิด เสียงรบกวนและเพิ่มระดับแรงสั่นสะเทือน ดังนั้นจึงไม สามารถนําฟลายวีลทั่วไปที่ไมมีฟงกชั่นดังกลาวมา เปลี่ยนแทนที่ฟลายวีลยืดหยุน “ไดยินเสียงดังมาจาก D.M.F. เมื่อสตารทหรือ ปดเครื่องยนต อาการดังกลาวถือเปนเรื่องปกติ หรือไม” เมื่อสตารทเครื่องยนตจะเปนการตัดความถี่เรโซแนนซของ D.M.F. ดังนั้นเสียงดังที่เพิ่มขึ้นจึงถือเปนอาการปกติ แตระดับเสียงรบกวนที่เกิดขึ้นไมควรเกินเกณฑที่ยอมรับ ไดในรถยนตใหม ซึ่งการออกแบบและมอเตอรสตารทชวย ใหเกิดคุณสมบัติดังกลาวได สําหรับในรถยนตที่ใชงานมา แลว จะมีปจจัยมากมายที่มีผลตอเสียงรบกวนเมื่อสตารท หรือดับเครื่องยนต ดังนั้น D.M.F. อาจจะไมใชสาเหตุทําให เกิดเสียงดังรบกวนก็ได ในกรณีนี้ ควรตรวจสอบสวน ประกอบของชุดขับเคลื่อนทั้งหมด รวมถึงแบตเตอรี่ การติดตั้งเครื่องยนต ระบบทอไอเสีย อุปกรณปองกัน ความรอน และอุปกรณตกแตงอื่นๆ นอกจากนี้ สิ่งสําคัญอยางหนึ่ง คือ ควรแยกแยะเสียงดัง รบกวนที่เกิดจากอุปกรณตกแตงดานหนารถยนตดวย เชน ชุดลูกรอกตั้งความตึงสายพาน หรือคอมเพรสเซอร สามารถใชสเตตโทสโคปเพื่อชวยฟงเสียงและบงชี้แหลง กําเนิดเสียงรบกวนได เสียงดังที่เกิดขึ้นเมื่อใสเกียรหรือ เปลี่ยนเกียรและการเปลี่ยนภาระอาจเกิดขึ้นในชุดขับ เคลื่อนกําลัง ซึ่งมีสาเหตุจากการมีชองวางของเกียรในชุด สงกําลังมากเกินไป หรือในเพลาขับเคลื่อน หรือในเครื่อง แยกอัตราความเร็วก็ได เสียงดังที่เกิดขึ้นอาจมีหลายสาเหตุตัวอยางเชน เรโซแนนซในชุดขับเคลื่อนกําลัง หรือความไมสมดุลของ D.M.F. ซึ่งเกินขีดจํากัดที่กําหนดไว D.M.F. อาจไมสมดุล

อยางชัดเจน หากตุมนํ้าหนักที่ดานหลังหายไปหรือตลับ ลูกปนแตก “ตองมีเครื่องมือเฉพาะสําหรับถอดหรือติดตั้ง D.M.F. หรือไม” ในการถอดหรือติดตั้ง D.M.F. ไมจําเปนตองใชเครื่องมือ พิเศษใดๆ ทั้งนี้ในระหวางการติดตั้ง จะตองใช สลักเกลียวของ D.M.F. ชุดใหมเสมอและตองใชมุมและ แรงขันที่เหมาะสม “ควรทําอยางไรหากตองการทดสอบวาจําเปน ตองเปลี่ยน D.M.F. แลว”และ “สามารถคนหา ตารางคาที่ยอมรับไดใน D.M.F. ของวาลีโอได อยางไร” ในสวนการวินิจฉัย D.M.F. ไดอธิบายการตรวจสอบการ ทํางานของ D.M.F. ไววาทํางานไดถูกตองหรือไม โปรด ศึกษาจากขั้นตอนการวินิจฉัยดังกลาวทีละขั้นตอน นอกจากนี้ยังมีเครื่องมือที่ผลิตโดยผูผลิตเครื่องวัดคา ตางๆ ที่สามารถนํามาใชวัดคาดังกลาวได อยางไรก็ตาม การวินิจฉัย D.M.F. ที่ถูกตองสมบูรณควรดําเนินการใน หองปฏิบัติการโดยผูเชี่ยวชาญเทานั้น วาลีโอจึงแนะนํา ใหเปลี่ยน D.M.F. ทุกครั้งเมื่อเปลี่ยนชุดคลัตช เนื่องจาก การเริ่มใชงานชุดคลัตชใหมอาจมีผลให D.M.F. ไมทํางาน ได หาก D.M.F. ตกลงพื้น ไมควรนํามาใชงานตอ “ตรวจสอบ D.M.F. โดยไมตองถอดออกมาจาก รถยนตไดหรือไม” การตรวจสอบนี้ตองดําเนินการโดยใชเครื่องมือเฉพาะกับ D.M.F. ซึ่งมีจําหนายทั่วไปในทองตลาด ซึ่งวาลีโอไมไดให เครื่องมือดังกลาวแกผูใช แตไดอธิบายวิธีการวินิจฉัยงายๆ ไวแลว และสามารถปฏิบัติตามไดโดยใชเครื่องมือที่ใชใน ศูนยบริการรถยนตทั่วไป “คนหาตารางเทียบเคียงกับผูจัดจําหนายรายอื่น ไดอยางไร” วาลีโอไดแสดงการเปรียบเทียบดังกลาวไวแลว ทั้งอะไหล แทติดรถยนต (O.E.) และอะไหลในสวนตลาดอะไหล ทดแทน (I.A.M) ไวในแคตตาล็อกฉบับพิมพ หากตองการ ขอมูลเพิ่มเติมโปรดติดตอวาลีโอ

30

12

บทสรุป

วาลีโอทุมเทความเชี่ยวชาญเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑใหกับ โรงงานประกอบรถยนต และตลาดอะไหลทดแทนที่มี ประสิทธิภาพในการทํางานเหมือนกันกับชิ้นสวนที่สงเขา โรงงานประกอบรถยนต กวา 30 ป ที่ผานมาเทคโนโลยี D.M.F. ไดเปนหนึ่งในโซลูชั่นชั้นเยี่ยม ที่มีความสําคัญอยางมาก เชน ชวยใหขับขี่ไดสบายยิ่งขึ้น รถยนตใชงานไดยาวนานยิ่งขึ้น ประหยัดนํ้ามัน วาลีโอพรอมใหคําแนะนําในการติดตั้ง โดยสามารถ ศึกษาไดจาก TecDoc ® และเว็บไซต Valeo TechAssist สามารถคนหาหมายเลขชิ้นสวนที่ตองการนําไปติดตั้งใน รถยนตหรือคนหาขอมูลสําคัญอื่นๆ ไดจากเว็บไซต www.valeoservice.com

31

วาลีโอ หลากหลายความชํานาญ เพื่อธุรกิจของทาน ภารกิจดานระบบสงกําลังของวาลีโอ คือ การเปนผูจัดจําหนายทางเลือก ดานสถาปตยกรรมระบบสงกําลังทั้งหมดที่มีนวัตกรรมทางเทคโนโลยีซึ่ง พัฒนาขึ้นเพื่อการสงกําลังจากเครื่องยนตที่มีประสิทธิภาพและสะดวก สบาย โดยสงกําลังออกไปพรอมกับลดการสิ้นเปลืองนํ้ามันเชื้อเพลิงได ในคราวเดียวกัน เทคโนโลยีฟลายวีลแบบสองชั้น (D.M.F.) เปนหนึ่งในเหตุผลสําคัญ ที่สนับสนุนวาเหตุใดในหลายปที่ผานมารถยนตดีเซลและรถบรรทุกเชิง พาณิชยขนาดเล็กจึงมีเสียงดังและการสั่นสะเทือนนอยลง D.M.F ชวยใหขับขี่ไดดวยความเร็วเครื่องยนตลดลง ซึ่งเพิ่ม ประสิทธิภาพของเครื่องยนต จึง ประหยัดนํ้ามัน และ ลดการปลอย กาซคารบอนไดออกไซด และการสั่นสะเทือน วาลีโอเริ่มผลิต D.M.F. ตั้งแตทศวรรษป 1980 เปนตนมาอยางตอเนื่อง เพื่อตอบสนองตอ ความตองการของผูผลิตรถยนตจํานวนมาก วาลีโอถือเปนผูกําหนด โซลูชั่นสําคัญในการออกแบบและผลิต D.M.F ที่เหมาะสมตอการใชงาน ดวยเทคโนโลยีชุดขับเพลาที่มีประสิทธิภาพ คูมือทางเทคนิค เลมนี้จึงถือโอกาสนี้อธิบายถึงการออกแบบ องคประกอบ และคุณสมบัติที่เกี่ยวของกับทั้งสองเทคโนโลยีดังกลาว และไดอธิบายการวินิจฉัยและคําแนะนําเกี่ยวกับอาการเสียโดยทั่วไปที่ อาจเกิดขึ้นได นอกจากนี้ยังมีการตอบปญหาตางๆ ในของคําถามที่ถาม บอยที่สุดอีกดวย

บริษัท วาลีโอ ออโตโมทิฟ (ประเทศไทย) จํากัด (สาขาที่ 1) 700/424 ชั้น1 หมู 7 ถนนบางนาตราด กม.57 ตําบลดอนหัวฬอ อําเภอเมืองชลบุรี

จังหวัดชลบุรี 20000 Tel : +66 (0) 38-265-600 Fax : +66 (0) 38-265-671

Automotive technology, naturally

www.valeoservice.com

Made with FlippingBook - Online Brochure Maker