VS - Air Conditioning The AC System Thermal comfort loop val

13.2 ผลที่เกิดขึ้นจากการไหลของ อากาศที่ไม่ดีพอ การไหลของอากาศผ่านห้องโดยสารรถยนต์จะท�ำให้เกิด การแลกเปลี่ยนความร้อนในระบบ ซึ่งท�ำให้เกิดการปรับ อากาศขึ้น หากการไหลของอากาศติดขัดหรือไม่ดีพอ จะมีผลกระทบ โดยตรงต่อความสบายของผู้ขับขี่ และท�ำให้ประสิทธิภาพ การท�ำงานของส่วนประกอบในระบบลดลง เมื่อท�ำการบ�ำรุงรักษาระบบจึงจ�ำเป็นต้องตรวจสอบวงจร ปรับอากาศทั้งหมดตั้งแต่กระบวนการจับอากาศจนถึง การกรองอากาศ g ก�ำจัดสิ่งตกค้างและสิ่งปนเปื้อน (เช่น ใบไม้) ออก จากวงจรน�ำอากาศเข้า g เปลี่ยนแผงกรองอากาศห้องโดยสารรถยนต์ g ตรวจสอบว่าอุปกรณ์ฟอกอากาศอุดตันหรือไม่ เปิดวงจรปรับอากาศ ทั้งนี้เพื่อป้องกันไม่ให้ความชื้น จากภายนอกไหลเข้าสู่วงจรได้ g ท�ำการกรองน�้ำยาแอร์ในวงจรปรับอากาศในเฟสการ แยกสิ่งสกปรกให้ดี g เปลี่ยนกรองน�้ำยาแอร์ทุกๆ 3 ปี หรือทุกครั้งที่เปิด วงจรปรับอากาศ หรือเมื่อซ่อมส่วนประกอบส�ำคัญ ของวงจร หรือเมื่อเกิดอุบัติเหตุ วิธีง่ายๆ ในการป้องกันวงจรปรับอากาศไม่ให้เกิดความชื้น g ปฏิบัติตามขั้นตอนการท�ำสุญญากาศที่ถูกต้อง ซึ่งได้แก่ ระดับของการท�ำสุญญากาศที่เหมาะสมที่สุด และเวลา ในการท�ำสุญญากาศที่เหมาะสมตามการบ�ำรุงรักษา g ตรวจสอบซีลกันรั่วทุกจุดในชิ้นส่วนต่างๆ ทุกครั้งที่

13.3 ผลที่เกิดขึ้นหากนํ้ายาแอร์ไม่ เพียงพอ การแลกเปลี่ยนความร้อนจะเกิดขึ้น โดยการเปลี่ยน สภาวะของน�้ำยาแอร์ ประสิทธิภาพการท�ำงานของระบบจะลดลงหากระดับ น�้ำยาแอร์ลดลงต�่ำเกินไป g ควรเปิดคอมเพรสเซอร์ให้ท�ำงานเป็นประจ�ำเพื่อหล่อ ลื่นซีลกันรั่วตามจุดต่างๆ ในวงจรท�ำความเย็น และ ยังลดความเสี่ยงที่ก่อให้เกิดการรั่วไหล รวมทั้งรักษา ประสิทธิภาพการท�ำงานของระบบอีกด้วย g ไม่ว่าวงจรปรับอากาศจะเป็นวงจรประเภทใดก็ตามควร เปิดคอมเพรสเซอร์ให้ท�ำงานอย่างน้อยเดือนละ 1–2 นาที ควรตรวจสอบซีลกันรั่วของวงจรปรับอากาศระหว่างการ บ�ำรุงรักษาด้วย วาลีโอมีเครื่องมือทดสอบซีลกันรั่วและการรั่วไหลไว้คอย บริการหลากหลายรุ่น ค�ำเตือน หากระบบเกิดการรั่วไหลอย่างมาก ห้ามเติมนํ้ายาแอร์ ใหม่เข้าไปจนกว่าจะทราบสาเหตุที่แน่ชัดและผลที่เกิด ขึ้นจากการรั่วไหลดังกล่าวเสียก่อน

63

Made with FlippingBook Online newsletter